ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวีเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสโลวีเนียทั้งสิ้น 5 แหล่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง

[แก้]
ที่ตั้งแหล่งมรดกโลกในประเทศสโลวีเนีย จุดสีแดงหมายถึงแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม จุดสีเขียวหมายถึงแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก

[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
แหล่งที่อยู่อาศัยแบบเรือนยกพื้นยุคก่อนประวัติศาสตร์โดยรอบเทือกเขาแอลป์
(ร่วมกับฝรั่งเศส, เยอรมนี, สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรีย และอิตาลี)
เทศบาลอีก
45°58′32.4″N 14°31′46.1″E / 45.975667°N 14.529472°E / 45.975667; 14.529472
วัฒนธรรม:
(iv), (v)
274.2;
พื้นที่กันชน 3,960.77
2554/2011 1363[2]
มรดกปรอท อัลมาเดนและอีดริยา
(ร่วมกับสเปน)
เทศบาลอีดริยา
46°00′14.0″N 14°01′36.0″E / 46.003889°N 14.026667°E / 46.003889; 14.026667
วัฒนธรรม:
(ii), (iv)
104.1 2555/2012 แหล่งมรดกโลกแห่งนี้ประกอบด้วยเหมืองในอัลมาเดน (ในสเปน) ที่มีการสกัดปรอทตั้งแต่ยุคโบราณ และในอีดริยาที่มีการค้นพบปรอทครั้งแรกใน ค.ศ. 1490 1313[3]
ผลงานของโยแฌ เปลชนิก
ในลูบลิยานา การออกแบบชุมชนเมืองที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง
เทศบาลนครลูบลิยานา
46°02′36.2″N 14°30′08.1″E / 46.043389°N 14.502250°E / 46.043389; 14.502250
วัฒนธรรม:
(iv)
19.122;
พื้นที่กันชน 178.613
2564/2021 1643[4]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
ถ้ำชกอตซิยัน เทศบาลดิวาชา
45°40′00.0″N 14°00′00.0″E / 45.666667°N 14.000000°E / 45.666667; 14.000000
ธรรมชาติ:
(vii), (viii)
413 2529/1986 ภายในถ้ำเป็นหนึ่งในสถานที่ที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกสำหรับการศึกษาสภาพคาสต์ 390[5]
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิ
แห่งเทือกเขาคาร์เพเทียน
และภูมิภาคอื่นของยุโรป

(ร่วมกับโครเอเชีย, เช็กเกีย, มาซิโดเนียเหนือ, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, เบลเยียม, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, ยูเครน, เยอรมนี, โรมาเนีย, สเปน, สโลวาเกีย, สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรีย, อิตาลี และแอลเบเนีย)
เทศบาลคอเชวิแย,
เทศบาลโลชกาดอลีนา
และเทศบาลอิลีร์สกาบีสตริตซา
45°32′27.6″N 14°46′12.0″E / 45.541000°N 14.770000°E / 45.541000; 14.770000
ธรรมชาติ:
(ix)
99,947.81;
พื้นที่กันชน 296,275.8
2550/2007;
เพิ่มเติม 2554/2011,
2560/2017,
2564/2021
และ 2566/2023
ป่าต้นบีชในประเทศสโลวีเนียได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2560 1133[6]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

[แก้]

ประเทศสโลวีเนียมีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 4 แห่ง[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Slovenia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2023.
  2. "Prehistoric Pile Dwellings around the Alps". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2023.
  3. "Heritage of Mercury. Almadén and Idrija". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2023.
  4. "The works of Jože Plečnik in Ljubljana – Human Centred Urban Design". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2023.
  5. "Škocjan Caves". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2023.
  6. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2023.