จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รายละเอียดการแข่งขัน วันที่ 12 มีนาคม 2558 – 10 ตุลาคม 2560 ทีม 46 (จาก 1 สมาพันธ์) สถิติการแข่งขัน จำนวนนัดที่แข่งขัน 226 จำนวนประตู 665 (2.94 ประตูต่อนัด) ผู้ชม 4,377,585 (19,370 คนต่อนัด) ผู้ทำประตูสูงสุด โมฮัมหมัด อัล-ซาห์ลาวี อาห์เหม็ด คาลิล (คนละ 16 ประตู)
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560(including any matches not played but awarded)
การแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยโซนเอเชียได้รับโควตาทั้งหมด 4 ทีม กับอีก 1 ทีมที่มีสิทธิ์ไปแข่งรอบเพลย์ออฟกับทีมจากโซนอื่น ๆ โซนเอเชียเริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกในวันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558 ระหว่างติมอร์-เลสเต กับมองโกเลีย [ 1] และจบการแข่งขันวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
รอบแรก : มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) จับคู่แข่งขันแบบเหย้า-เยือน 2 นัด หาทีมชนะ 6 ทีมผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
รอบสอง : มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน คัดผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม รวมกับทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีมผ่านเข้ารอบสามต่อไป
รอบสาม : จากการแข่งขันรอบสอง จะมี 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบนี้ โดยจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน ทีมอันดับ 1 และ 2 ของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก 2018 ที่ประเทศรัสเซีย ส่วนอันดับ 3 ของทั้งแต่ละกลุ่มจะไปเล่นในรอบสี่ ทั้ง 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบสุดท้ายจะได้เข้าแข่งเอเชียนคัพ โดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือก็ให้แข่งกันไปเรื่อย ๆ จะรวมกันได้ 24 ทีม
รอบสี่ : ทีมอันดับ 3 จากแต่ละกลุ่มในรอบสามจะเล่นเพลย์ออฟ เหย้า-เยือน ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้าไปเล่นเพลย์ออฟแบบเหย้า-เยือนกับตัวแทนจาก คอนคาแคฟ และผู้ชนะจะได้สิทธิ์ไปแข่งฟุตบอลโลก 2018
การแข่งขันรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกครั้งนี้จะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 ไปในตัวด้วย[ 2]
นี่คือปฏิทินการแข่งขัน ของฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย[ 4] [ 5] [ 6]
รอบ
การแข่งขัน
วันที่
รอบแรก
นัดที่ 1
12 มีนาคม พ.ศ. 2558
นัดที่ 2
17 มีนาคม พ.ศ. 2558
รอบที่ 2
วันแข่งขันที่ 1
11 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 2
16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 3
3 กันยายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 4
8 กันยายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 5
8 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 6
13 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 7
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 8
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 9
24 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 10
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
รอบ
การแข่งขัน
วันที่
รอบที่ 3
วันแข่งขันที่ 1
1 กันยายน พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 2
6 กันยายน พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 3
6 ตุลาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 4
11 ตุลาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 5
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 6
23 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 7
28 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 8
13 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 9
31 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 10
5 กันยายน พ.ศ. 2560
รอบที่ 4
นัดที่ 1
5 ตุลาคม พ.ศ. 2560
นัดที่ 2
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
สำหรับรอบเพลย์ออฟระหว่างทวีป จะแข่งขันระหว่างวันที่ 6–14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560[ 7]
จับฉลากคู่แข่งขันรอบแรกเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เวลา 15:30 น. ตามเวลาในมาเลเซีย (UTC+8 ) ที่สำนักงานใหญ่สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียในกัวลาลัมเปอร์ [ 8]
แหล่งที่มา :
FIFA (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
↑ การแข่งขันระหว่างมาเลเซียและซาอุดีอาระเบียในวันที่ 8 กันยายน 2558 ถูกสั่งยกเลิกในนาทีที่ 87 เนื่องจากผู้ชมขว้างปาสิ่งของลงมาในสนาม ในขณะนั้นซาอุดีอาระเบียนำอยู่ 1-2 ในวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ฟีฟ่าตัดสินยกเลิกผลการแข่งขันและปรับมาเลเซียแพ้ 0-3[ 9] [ 10]
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
↑ FIFA awarded Iran a 3–0 win as a result of India fielding the ineligible player Eugeneson Lyngdoh .[ 11] The match initially ended 3–0 to Iran.
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (D) ตัดสิทธิ์;
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
↑ On 30 May 2015, FIFA announced that the Football Association of Indonesia (PSSI) was suspended with immediate effect for governmental interference.[ 12] On 3 June 2015, the AFC confirmed that Indonesia have been excluded from the qualifying competition, and all matches involving them have been cancelled.[ 13]
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
↑ 1.0 1.1 1.2 On 16 October 2015, the Kuwait FA was suspended by FIFA with immediate effect, after Kuwait had failed to comply with a decision from the FIFA Executive Committee that sports law of the country had to be changed before 15 October. The three remaining matches involving Kuwait (away v Myanmar, home v Laos, away v South Korea) were not played as originally scheduled, and were later awarded as 3–0 wins for Kuwait's opponents.
แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
↑ FIFA awarded North Korea a 3–0 win as a result of Yemen fielding the ineligible player Mudir Al-Radaei, after North Korea had defeated Yemen 1–0. Al-Radaei failed to serve an automatic one match suspension for receiving two yellow cards earlier in the First Round of the competition.[ 14]
ตารางคะแนนอันดับสองที่ดีที่สุด[ แก้ ]
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2016. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า กฎการจัดอันดับ : 1) Points from matches against teams ranked first to fourth in the group; 2) Superior goal difference from these matches; 3) Higher number of goals scored in these matches; 4) Play-off
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
ทีมที่ผ่านเข้ารอบนี้
รอบเพลย์ออฟระหว่างทวีป[ แก้ ]
ทีมลำดับที่ 5 จากโซนเอเชีย ต้องแข่งขันเพลย์ออฟเหย้า-เยือน กับทีมลำดับที่ 5 จากโซนคอนคาแคฟ โดยทีมจากโซนเอเชียจะเป็นเจ้าบ้านในนัดที่สอง[ 15]
16 ประตู
11 ประตู
10 ประตู
9 ประตู
8 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
สำหรับรายชื่อเต็มของอันดับดาวซัลโว, ดูที่ส่วนในแต่ละรอบ:
สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (
ฟีฟ่า )
การแข่งขัน รอบคัดเลือก ชิงชนะเลิศ ผู้เล่น Final draw ผู้แพร่ภาพกระจายเสียง การคัดเลือก เจ้าภาพ กรรมการ สถิติ ทีมที่เข้าร่วม สถิติรวม
Player records
Goalscorer records
Manager records
Match records
เบ็ดเตล็ด
1 อาร์เจนตินา ปารากวัย และอุรุกวัยจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันนัดแรก
2 ไม่มีรอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลโลก 1930 เนื่องจากได้รับคำเชิญเท่านั้น
3 ไม่มีการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ; บทความนี้เกี่ยวกับนัดชี้ขาดของรอบแบ่งกลุ่มรอบสุดท้าย