ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก รายละเอียดการแข่งขัน วันที่ มิถุนายน ค.ศ. 2019 – มิถุนายน ค.ศ. 2022 (คาดการณ์) ทีม 211 (คาดการณ์) (จาก 6 สมาพันธ์) สถิติการแข่งขัน จำนวนการแข่งขัน 145 จำนวนประตู 406 (2.8 ประตูต่อนัด) ผู้ชม 1,776,253 (12,250 คนต่อนัด) ผู้ทำประตูสูงสุด โอมาร์ อัล โซมาห์ (7 ประตู)
ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันที่จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ย่อยทั้ง 6 สมาพันธ์ของฟีฟ่า เพื่อตัดสิน 31 จาก 32 ทีมที่จะเล่นใน ฟุตบอลโลก 2022 ร่วมกับกาตาร์ ซึ่งผ่านการเข้ารอบโดยอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ โดยมีทีมจากชาติสมาชิกฟีฟ่าทั้งหมด 210 ทีมลงแข่งขัน
กาแข่งขันเริ่มต้นขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2019 และมีกำหนดสิ้นสุดในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2022[1] โดยการแข่งขันบางส่วนได้ถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา
ทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน [ แก้ ]
สถานะของประเทศที่เกี่ยวข้องกับฟุตบอลโลก 2022:
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
ทีมที่ยังมีโอกาสผ่านเข้ารอบ
ทีมไม่ผ่านรอบคัดเลือกก่อนจบทัวร์นาเมนต์
ทีมไม่ผ่านรอบคัดเลือกหลังจบทัวร์นาเมนต์
ทีมที่ถูกตัดสิทธิ์จาก
ฟีฟ่า ประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกของฟีฟ่า
ทีม
ลำดับในการคัดเลือก
วิธีการในการคัดเลือก
วันที่ในการคัดเลือก
จำนวนครั้งที่ลงสนามในรอบสุดท้าย
จำนวนครั้งที่ลงสนามในรอบสุดท้ายติดต่อกัน
ผลงานที่ดีที่สุดในครั้งที่ผ่านมา
อันดับโลกฟีฟ่า ในปัจจุบัน
กาตาร์
1
เจ้าภาพ
2 ธันวาคม พ.ศ. 2553
0 (เปิดตัว)
N / A
-
94
กระบวนการคัดเลือก [ แก้ ]
สมาชิกฟีฟ่าทั้งหมดซึ่งปัจจุบันมีทั้งสิ้น 211 ทีมมีสิทธิ์เข้าร่วมการคัดเลือก ยกเว้นกาตาร์ ในฐานะเจ้าภาพที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม กาตาร์ ยังต้องเข้าร่วมการแข่งขันรอบคัดเลือกในโซนเอเชีย เนื่องจากสองรอบแรกนั้นเป็นรอบคัดเลือกสำหรับการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2023 ไปในตัวด้วย หากพวกเขาจบในฐานะผู้ชนะหรือรองชนะเลิศในกลุ่มของพวกเขา ในการแข่งขันรอบที่สาม ทีมที่ได้ลำดับที่สามที่มีคะแนนที่ดีกว่าทีมลำดับที่สามของอีกกลุ่มหนึ่งจะได้ผ่านเข้ารอบแทน[2] การแข่งขันในครั้งนี้และเป็นครั้งแรกหลังจากการแข่งขันสองครั้งแรกในปี 1930 และ 1934 ที่เจ้าภาพฟุตบอลโลกเป็นประเทศที่ทีมชาติไม่เคยเล่นรอบสุดท้ายมาก่อน[3] โดยทีมแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งล่าสุด อย่างฝรั่งเศส ก็จะลงเล่นรอบคัดเลือกตามปกติ [4]
การแบ่งโควต้าสำหรับแต่ละสมาพันธ์ได้มีการหารือโดยคณะกรรมการบริหารของฟีฟ่า เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2015 ที่เมือง ซูริค หลังการประชุมใหญ่ของฟีฟ่า [5] คณะกรรมการบริหารตกลงกันว่าหลักการรอบคัดเลือกที่ได้ถูกใช้ในปี 2006, 2010, 2014 จะถูกนำมาใช้ในการแข่งขันในปี 2018 และ 2022[6]
ภูมิหลังการคัดเลือก [ แก้ ]
องค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก ได้สั่งห้ามรัสเซียมิให้แข่งขันกีฬาที่สำคัญทั้งหมดเป็นเวลา 4 ปีหลังจากพบว่า หน่วยงานต่อต้านการใช้สารต้องห้ามของรัสเซีย ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดในการส่งมอบข้อมูลห้องปฏิบัติการที่มีการจัดการให้กับผู้ตรวจสอบ[7] อย่างไรก็ตามทีมชาติรัสเซียยังคงสามารถผ่านการคัดเลือกได้เนื่องจากการลงโทษจะมีผลเฉพาะการแข่งขันรอบสุดท้ายเพื่อตัดสินแชมป์โลก หากรัสเซียผ่านเข้ารอบนักฟุตบอลรัสเซียยังคงสามารถแข่งขันในการแข่งขันได้โดยรอการตัดสินจากฟีฟ่า อย่างไรก็ตาม ทีมที่เป็นตัวแทนของรัสเซียซึ่งใช้ธงชาติและเพลงชาติของรัสเซีย ไม่สามารถเข้าร่วมภายใต้การตัดสินของ WADA ได้[8] ปัจจุบัน คำตัดสินอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ต่อศาลอนุญาโตตุลาการกีฬา [9]
สมาพันธ์
สิทธิ์ในการเข้ารอบสุดท้าย
ทีมที่เข้าร่วมเลือก
ทีมที่ตกรอบ
ทีมที่กำลังแข่งขัน
ทีมที่ผ่านเข้ารอบแล้ว
วันเริ่มต้นการคัดเลือก
รอบคัดเลือกนัดถัดไป
วันสิ้นสุดการคัดเลือก
เอเอฟซี
4 หรือ 5 +1
45+1
10
35[a]
0+1
6 มิถุนายน ค.ศ. 2019
ค.ศ. 2021
มิถุนายน ค.ศ. 2022
ซัเอเอฟ
5
54
14
40
0
4 กันยายน ค.ศ. 2019
พฤษภาคม ค.ศ. 2021
พฤศจิกายน ค.ศ. 2021
คอนคาแคฟ
3 หรือ 4
35
0
35
0
มีนาคม ค.ศ. 2021
มีนาคม ค.ศ. 2021
มิถุนายน ค.ศ. 2022
คอนเมบอล
4 หรือ 5
10
0
10
0
8 ตุลาคม ค.ศ. 2020
12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
มิถุนายน ค.ศ. 2022
โอเอฟซี
0 หรือ 1
11
0
11
0
มีนาคม ค.ศ. 2021
มีนาคม ค.ศ. 2021
มิถุนายน ค.ศ. 2022
ยูฟ่า
13
55
0
55
0
24 มีนาคม ค.ศ. 2021
24 มีนาคม ค.ศ. 2021
29 มีนาคม ค.ศ. 2022
รวม
31+1
210+1
24
186
0+1
6 มิถุนายน ค.ศ. 2019
12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
มิถุนายน ค.ศ. 2022
↑ กาตาร์ ปัจจุบันเข้าร่วมการแข่งขันในรอบที่สอง แต่ได้ผ่านเข้ารอบในฐานะเจ้าภาพแล้ว จึงไม่รวมอยู่ในการนับนี้
รูปแบบ [ แก้ ]
การคัดเลือกของสมาพันธ์ [ แก้ ]
เอเอฟซี [ แก้ ]
เอเอฟซีกำหนดให้กาตาร์ ซึ่งเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2022 เข้าร่วมในรอบคัดเลือกด้วย เนื่องจากสองรอบแรกนั้นจะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขัน เอเชียนคัพ 2023 ไปในตัว[10]
ติมอร์ - เลสเต ถูกห้ามไม่ให้เข้าร่วมการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2023 รอบคัดเลือก หลังจากพบว่ามีผู้เล่นที่ไม่มีสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 12 คนในการ แข่งขันรอบคัดเลือก ของเอเชียนคัพ 2019 [11] อย่างไรก็ตาม เนื่องจากทางฟีฟ่าไม่ได้ห้ามพวกเขาลงแข่งขันในรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกปี 2022 ติมอร์-เลสเตจึงยังคงได้รับการอนุญาตให้เข้าร่วมการแข่งขัน เพียงแต่พวกเขาจะไม่มีสิทธิ์ที่จะผ่านเข้ารอบเอเชียนคัพเท่านั้นเอง
โครงสร้างการคัดเลือกเป็นไปดังนี้:[12]
รอบแรก : มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) มาเล่นรอบคัดเลือกเพื่อหา 6 ทีมเพื่อผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
รอบสอง : มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม โดยจะคัดเอาผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม และทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีมผ่านเข้ารอบสามต่อไป
รอบสาม : จากการแข่งขันรอบสองจะมี 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบสุดท้ายจะถูกแบ่งเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละ 6 ทีม โดยแชมป์และรองแชมป์ของกลุ่มจะผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก 2022 ที่ประเทศกาตาร์
รอบสี่ : อันดับสามของทั้งสองกลุ่มจะมาเพลย์ออฟเพื่อหาผู้ชนะไปแข่งกับตัวแทนจากทวีปอื่น
รอบปัจจุบัน (รอบที่ 2) [ แก้ ]
กลุ่ม เอ
กลุ่ม บี
กลุ่ม ซี
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา :
AFC (Z) ตกรอบจากฟุตบอลโลก.
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา :
AFC (Y) Cannot win group, may still advance as group runner-up;
(Z) Eliminated from the World Cup.
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา :
AFC (Y) Cannot win group, may still advance as group runner-up.
กลุ่ม ดี
กลุ่ม อี
กลุ่ม เอฟ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา :
เอเอฟซี
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : (Y) Cannot win group, may still advance as group runner-up.
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา :
กลุ่ม จี
กลุ่ม เอช
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา : (Z) ตกรอบจากฟุตบอลโลก..
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562. แหล่งที่มา :
ซีเอเอฟ [ แก้ ]
คอนคาแคฟ [ แก้ ]
คอนเมบอล [ แก้ ]
สภาบริหารคอนเมบอล ได้ตัดสินใจในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2019 ที่จะยังคงรักษารูปแบบการแข่งขันเหมือนเดิมกับการแข่งขัน 6 ครั้งก่อนหน้านี้[13] แข่งขันระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 2020 ถึงมิถุนายน ค.ศ. 2022 (ก่อนหน้านี้กำหนดไว้ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2020 ถึงพฤศจิกายน ค.ศ. 2021 แต่ในภายหลังได้เลื่อนออกไปเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 )
รอบปัจจุบัน [ แก้ ]
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า
โอเอฟซี [ แก้ ]
ยูฟ่า [ แก้ ]
รอบปัจจุบัน (รอบแรก) [ แก้ ]
กลุ่ม เอ
กลุ่ม บี
กลุ่ม ซี
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
กลุ่ม ดี
กลุ่ม อี
กลุ่ม เอฟ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
กลุ่ม จี
กลุ่ม เอช
กลุ่ม ไอ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
กลุ่ม เจ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564. แหล่งที่มา :
ฟีฟ่า ,
ยูฟ่า
รอบเพลย์ออฟข้ามทวีป [ แก้ ]
การแข่งขันรอบเพลย์ออฟระหว่าง 2 สมาพันธ์เพื่อหา 2 ทีมสุดท้ายที่จะได้ผ่านเข้าไปแข่งในฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย จะเกิดขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2022[14]
อ้างอิง [ แก้ ]