ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยวน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8939991 สร้างโดย Boysan218 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
แก้ไขปรับปรุงอ้างอิง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ระวังสับสน|ชาวญวน}}
{{ระวังสับสน|ชาวญวน}}
{{กล่องข้อมูล กลุ่มชาติพันธุ์
{{Infobox ethnic group
| group = ยวน
| group = ยวน
| image = Thai dancer Chiang Mai 2005 045.jpg
| image = Thai dancer Chiang Mai 2005 045.jpg
| image_caption = การรำของคนยวนใน[[จังหวัดเชียงใหม่]]
| image_caption = การรำของคนยวนใน[[จังหวัดเชียงใหม่]]
| population = 6 ล้านคน<ref name=ethno>Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nod Entry for Northern Thai] Dallas, Tex.: SIL International.</ref>
| population = 6 ล้านคน<ref name=ethno>Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. [http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nod Entry for Northern Thai] Dallas, Tex.: SIL International. {{ISBN|978-1-55671-216-6}}.</ref>
| popplace = [[ประเทศไทย]], [[ประเทศลาว]] ([[ห้วยทราย]], [[แขวงบ่อแก้ว]] และ[[แขวงไชยบุรี]])
| popplace = [[ประเทศไทย]], [[ประเทศลาว]] ([[ห้วยทราย]], [[แขวงบ่อแก้ว]] และ[[แขวงไชยบุรี]])
| rels = ส่วนใหญ่ [[ไฟล์:Dharma Wheel.svg|16px]] [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]] ส่วนน้อย [[ศาสนาคริสต์]]
| rels = ส่วนใหญ่ [[ไฟล์:Dharma Wheel.svg|16px]] [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]] ส่วนน้อย [[ศาสนาคริสต์]]
| langs = [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|คำเมือง]] (มักพูดสองภาษากับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]])
| langs = [[ภาษาไทยถิ่นเหนือ|คำเมือง]] (มักพูดสองภาษากับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]])
| related = [[ชาวไท]]
| related-c = [[ชาวไท]]
}}
}}


'''ยวน''' หรือ '''คนเมือง''' เป็น[[ประชากร]]ที่พูดภาษา[[ตระกูลภาษาขร้า-ไท]]กลุ่มหนึ่ง ตั้งถิ่นฐานทาง[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ตอนเหนือของประเทศไทย]]ซึ่งเป็นที่ตั้งของ[[อาณาจักรล้านนา]]<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554''</ref> เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ในปัจจุบันชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามายังเมืองของตน
'''ยวน''' หรือ '''คนเมือง''' เป็น[[ประชากร]]ที่พูดภาษา[[ตระกูลภาษาขร้า-ไท]]กลุ่มหนึ่ง ตั้งถิ่นฐานทาง[[ภาคเหนือ (ประเทศไทย)|ตอนเหนือของประเทศไทย]]ซึ่งเป็นที่ตั้งของ[[อาณาจักรล้านนา]]<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554''&thinsp; {{ISBN|978-616-7073-80-4}}.</ref> เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ในปัจจุบันชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามายังเมืองของตน


ตามตำนานสิงหนวัศิกล่าวว่า สิงหนวัศิกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ใน[[มณฑลยูนนาน]] มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า '''โยนกนคร''' เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า '''ยวน''' ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง "โยนก" นั่นเอง{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อยๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปในอาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองแห่งหงสาวดีได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ ทำให้พม่าปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี
ตามตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า สิงหนวัติกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ใน[[มณฑลยูนนาน]] มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า '''โยนกนคร''' เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า '''ยวน''' ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง "โยนก" นั่นเอง<ref>{{Cite book|author=อานันท์ กาญจนพันธ์ |date=2017 |title=ประวัติศาสตร์สังคมล้านนา: ความเคลื่อนไหวของขีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น |place=พิษณุโลก |publisher=หน่วยวิจัยอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |pages=52–55 |isbn=978-616-4260-53-5}}</ref> จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อย ๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปในอาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองแห่งหงสาวดีได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ ทำให้พม่าปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี


คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเช่น [[ลิลิตยวนพ่าย]] ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ''ยวน'' อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น<ref name=":0">{{Citation |author=Frederic Pain |title=An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai |journal=The Journal of the American Oriental Society |year=2008 |url= http://www.thefreelibrary.com/An+introduction+to+Thai+ethnonymy%3A+examples+from+Shan+and+Northern...-a0214480325}}</ref> เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับ[[ไทใหญ่|ชาวชาน]] โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนชานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐชานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ชานพม่า" (Burmese Shan)<ref>{{Citation |author=Andrew Turton |authorlink=Andrew Turton |title=Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s |work=Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia |year=2004 |publisher=Frank Cass |place=London |page=73}}</ref> แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลาย ๆ กลุ่ม
คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเช่น [[ลิลิตยวนพ่าย]] ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ''ยวน'' อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น<ref name=":0">{{Citation |author=Frederic Pain |title=An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai |journal=The Journal of the American Oriental Society |year=2008 |url= http://www.thefreelibrary.com/An+introduction+to+Thai+ethnonymy%3A+examples+from+Shan+and+Northern...-a0214480325 |issn=0003-0279}}</ref> เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับ[[ไทใหญ่|ชาวชาน]] โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนชานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐชานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ชานพม่า" (Burmese Shan)<ref>{{Citation |author=Andrew Turton |authorlink=Andrew Turton |title=Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s |work=Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia |year=2004 |publisher=Frank Cass |place=London |page=73 |isbn=9780714654867 |doi=10.1080/01440390308559156}}</ref> แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลาย ๆ กลุ่ม


ในปี พ.ศ. 2454 [[:en:Daniel McGilvary|แดเนียล แมกกิลวารี]] ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนาเป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410–2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว"<ref>{{cite book|last=McGilvary|first=Daniel|title=A HALF CENTURY AMONG
ในปี พ.ศ. 2454 {{Interlanguage link|แดเนียล แมกกิลวารี|en|Daniel McGilvary}} ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนาเป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410–2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว"<ref>{{cite book |last=McGilvary |first=Daniel |title=A Half Century Among the Siamese and the Lāo: An Autobiography |publisher=London, Fleming H. Revell Comapny |year=1912 |pages=435 |isbn=9780790572529}}</ref> เรียกคนในล้านนาปน ๆ ไปว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง (อักษรล้านนา) ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" แต่น่าจะเป็นเพียงเพื่อบ่งชี้ว่าคนไทยทางเหนือเคยปกครองตัวเองแยกจากสยามมาก่อน ซึ่งในตอนหนึ่งของหนังสือ แมกกิลวารีขยายความว่า
THE SIAMESE AND THE LAO|publisher=London, Fleming H. Revell Comapny|year=1912|pages=435}}</ref> เรียกคนในล้านนาปน ๆ ไปว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง (อักษรล้านนา) ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" แต่น่าจะเป็นเพียงเพื่อบ่งชี้ว่าคนไทยทางเหนือเคยปกครองตัวเองแยกจากสยามมาก่อน ซึ่งในตอนหนึ่งของหนังสือ แมกกิลวารีขยายความว่า


{{คำพูด|"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่างๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่ง[[พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์]]ถึงแก่พิราลัย แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่าน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา#ลำน้ำสาขา|ลำน้ำสาขา]] ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"|แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191{{sfn|McGilvary|1912|page=191}}}}
{{คำพูด|"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่ง[[พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์]]ถึงแก่พิราลัย แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่าน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา#ลำน้ำสาขา|ลำน้ำสาขา]] ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธุ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"|แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191{{sfn|McGilvary|1912|page=191}}}}


ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429–2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 [[วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์]] มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429–2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป
บรรทัด 30: บรรทัด 28:
; บรรณานุกรม
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ธเนศวร์ เจริญเมือง]]|ชื่อหนังสือ = คนเมือง : ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยใหม่ พ.ศ. 2317-2553 |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 2, เชียงใหม่|พิมพ์ที่ = สถาบันพัฒนาเมืองเชียงใหม่|ปี = 2554|ISBN = 978-974-496-387-1|จำนวนหน้า = 246}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ธเนศวร์ เจริญเมือง]]|ชื่อหนังสือ = คนเมือง : ประวัติศาสตร์ล้านนาสมัยใหม่ พ.ศ. 2317-2553 |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 2, เชียงใหม่|พิมพ์ที่ = สถาบันพัฒนาเมืองเชียงใหม่|ปี = 2554|จำนวนหน้า = 246}} {{ISBN|978-974-496-387-1}}.
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|จำนวนหน้า = 1,544}} {{ISBN|978-616-7073-80-4}}.
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สุรชัย จงจิตงาม| ชื่อหนังสือ = ท่องเที่ยว-เรียนรู้ ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง| URL = | จังหวัด = | พิมพ์ที่ = | ปี = | ISBN = | จำนวนหน้า = | หน้า = 16}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สุรชัย จงจิตงาม| ชื่อหนังสือ = คู่มือท่องเที่ยว-เรียนรู้: ล้านนา เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = มิวเซียมเพรส| ปี = 2549| จำนวนหน้า = 128| หน้า = 16}} {{ISBN|9789749497166}}.
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:30, 5 กรกฎาคม 2564

ยวน
การรำของคนยวนในจังหวัดเชียงใหม่
ประชากรทั้งหมด
6 ล้านคน[1]
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ประเทศไทย, ประเทศลาว (ห้วยทราย, แขวงบ่อแก้ว และแขวงไชยบุรี)
ภาษา
คำเมือง (มักพูดสองภาษากับภาษาไทยกลาง)
ศาสนา
ส่วนใหญ่ พุทธเถรวาท ส่วนน้อย ศาสนาคริสต์
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวไท

ยวน หรือ คนเมือง เป็นประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาขร้า-ไทกลุ่มหนึ่ง ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยซึ่งเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา[2] เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ในปัจจุบันชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามายังเมืองของตน

ตามตำนานสิงหนวัติกล่าวว่า สิงหนวัติกุมาร ได้อพยพผู้คนบริวารมาจากเมืองราชคฤห์ เข้าใจว่า อยู่ในมณฑลยูนนาน มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสน ราวต้นสมัยพุทธกาล ตั้งชื่อบ้านเมืองนี้ ว่า โยนกนคร เรียกประชาชนเมืองนี้ว่า ยวน ซึ่งเป็นเสียงเพี้ยนมาจากชื่อเมือง "โยนก" นั่นเอง[3] จากนั้น ก็มีกษัตริย์ครองเมืองโยนกนี้มาเรื่อย ๆ ประชากรไทยวน ก็แพร่หลายออกไปในอาณาจักรล้านนา ต่อมา พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองแห่งหงสาวดีได้นำทัพมาตีเมืองเหนือ ทำให้พม่าปกครองเมืองเหนือเป็นเวลานานถึง 200 ปี

คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฏหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น[4] เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวชาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนชานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐชานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ชานพม่า" (Burmese Shan)[5] แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลาย ๆ กลุ่ม

ในปี พ.ศ. 2454 แดเนียล แมกกิลวารี [en] ซึ่งทำงานเผยแพร่คริสต์ศาสนาในล้านนาเป็นเวลาเกือบห้าสิบปี (พ.ศ. 2410–2453) ได้เขียนหนังสือเรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว"[6] เรียกคนในล้านนาปน ๆ ไปว่า "คนลาว" เรียกตั๋วเมือง (อักษรล้านนา) ว่าเป็น "ภาษาลาว" และเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า "ลาว" แต่น่าจะเป็นเพียงเพื่อบ่งชี้ว่าคนไทยทางเหนือเคยปกครองตัวเองแยกจากสยามมาก่อน ซึ่งในตอนหนึ่งของหนังสือ แมกกิลวารีขยายความว่า

"เราได้แล้วเห็นจังหวัดลาว (ล้านนา) ต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสยามนั้น เคยเป็นมลรัฐอิสระมาจนกระทั่งพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ถึงแก่พิราลัย แต่แอกของสยามนั้นเบาและอารีมาก พวกล้านนาไม่ได้ถูกสยบในสงคราม แต่เข้ามาสู่ความเกี่ยวพันกับสยามโดยความเต็มใจของตัวเอง เพื่อจะหนีการปกครองของพม่า ด้วยเหตุที่ทั้งตำแหน่งที่ตั้งและความอ่อนแอของรัฐเหล่านี้ ทำให้มีความจำเป็นที่พวกเขาจะต้องมองไปที่อาณาจักรคู่แข่งขันในภูมิภาค เพื่อขอความคุ้มครองจากอีกรัฐหนึ่ง ... ธรรมชาติได้สร้างให้ประเทศลาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสยามมากกว่าใครอื่น การคมนาคมติดต่อกับทะเลจำต้องผ่านแม่น้ำเจ้าพระยา และลำน้ำสาขา ในขณะที่แนวทิวเขาสูงแยกดินแดนนี้ออกจากพม่า ทั้งในทางชาติพันธุ์และภาษาก็เช่นกัน พวกนี้เป็นคนสยาม และไม่ใช่คนพม่า"

— แม็คกิลวารี, กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว, หน้า 191[7]

ในงานเรื่อง "ชนชาติไท" ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2466 วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ซึ่งทำงานที่เชียงรายนานถึง 32 ปี (พ.ศ. 2429–2461) กล่าวถึงคนเขตภาคเหนือตอนบนของไทยว่าเป็น "คนยวน" มิใช่คนลาวดังที่หลายฝ่ายเข้าใจ แต่ความน่าสนใจของแม็คกิลวารี และ ด็อดด์ อยู่ที่ว่าคนทั้งสองได้ทำงานในล้านนาเป็นเวลานานมาก จึงน่าจะมีความรู้ความเข้าใจในท้องถิ่นอย่างมาก แต่คนทั้งสองก็มิได้แตกต่างจากชาวต่างชาติคนอื่น ที่เข้ามาเยือนภาคเหนือเหมือนกัน แต่อยู่ไม่นาน นั่นคือไม่พูดถึงการเมืองท้องถิ่น และมองคนในภาคเหนือในมุมมองที่แทบไม่แตกต่างจากมุมมองของชาวสยามทั่วไป

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. Lewis, M. Paul (ed.), 2009. Ethnologue: Languages of the World, Sixteenth edition. Entry for Northern Thai Dallas, Tex.: SIL International. ISBN 978-1-55671-216-6.
  2. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554ISBN 978-616-7073-80-4.
  3. อานันท์ กาญจนพันธ์ (2017). ประวัติศาสตร์สังคมล้านนา: ความเคลื่อนไหวของขีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น. พิษณุโลก: หน่วยวิจัยอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. pp. 52–55. ISBN 978-616-4260-53-5.
  4. Frederic Pain (2008), "An introduction to Thai ethnonymy: examples from Shan and Northern Thai", The Journal of the American Oriental Society, ISSN 0003-0279
  5. Andrew Turton (2004), "Violent Capture of People for Exchange on Karen-Tai borders in the 1830s", Structure of Slavery in Indian Ocean Africa and Asia, London: Frank Cass, p. 73, doi:10.1080/01440390308559156, ISBN 9780714654867
  6. McGilvary, Daniel (1912). A Half Century Among the Siamese and the Lāo: An Autobiography. London, Fleming H. Revell Comapny. p. 435. ISBN 9780790572529.
  7. McGilvary 1912, p. 191.
บรรณานุกรม