ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดน่านในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดน่านในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ79.48%
  First party Second party Third party
 
Thaksin DOD 20050915.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 ลดลง1
คะแนนเสียง 116,646 84,878 6,786
% 45.60 33.18 2.65

  Fourth party
 
กร ทัพพะรังสี 1970.jpg
พรรค ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1
คะแนนเสียง 5,421
% 2.12

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดน่าน)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 116,646 45.60%
ประชาธิปัตย์ 84,878 33.18%
ชาติไทย 6,786 2.65%
ชาติพัฒนา 5,421 2.12%
อื่น ๆ 42,074 16.45%
ผลรวม 255,798 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
45.60%
ประชาธิปัตย์
  
33.18%
ชาติไทย
  
2.65%
ชาติพัฒนา
  
2.12%
อื่น ๆ
  
16.45%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดน่าน)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดน่าน
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,334 0.52
ชาวไทย (2) 726 0.28
กสิกรไทย (3) 699 0.27
นิติมหาชน (4) 1,318 0.52
ความหวังใหม่ (5) 1,104 0.43
รักสามัคคี (6) 1,909 0.75
ไทยรักไทย (7) 116,646 45.20
ชาติประชาธิปไตย (8) 2,190 0.86
ชาติไทย (9) 6,786 2.65
สันติภาพ (10) 224 0.09
ถิ่นไทย (11) 4,503 1.76
พลังประชาชน (12) 798 0.31
ราษฎร (13) 3,764 1.47
สังคมใหม่ (14) 855 0.33
เสรีธรรม (15) 2,444 0.96
ประชาธิปัตย์ (16) 84,871 33.18
อำนาจประชาชน (17) 3,709 1.45
ประชากรไทย (18) 909 0.36
ไท (19) 1,276 0.50
ก้าวหน้า (20) 480 0.19
ชาติพัฒนา (21) 5,421 2.12
แรงงานไทย (22) 514 0.20
เผ่าไท (23) 538 0.21
สังคมประชาธิปไตย (24) 715 0.28
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 504 0.20
พัฒนาสังคม (26) 1,365 0.53
ไทยช่วยไทย (27) 2,035 0.80
ไทยมหารัฐ (28) 334 0.13
ศรัทธาประชาชน (29) 308 0.12
วิถีไทย (30) 109 0.04
ไทยประชาธิปไตย (31) 2,337 0.91
พลังธรรม (32) 760 0.30
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 521 0.20
กิจสังคม (34) 517 0.20
เกษตรมหาชน (35) 889 0.35
พลังเกษตรกร (36) 1,083 0.42
สยาม (37) 1,303 0.51
บัตรดี 255,798 95.32
บัตรเสีย 7,225 2.69
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,350 1.99
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 268,373 79.48
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 337,653 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองน่าน อำเภอท่าวังผา (ยกเว้นตำบลจอมพระ และตำบลยม) และกิ่งอำเภอภูเพียง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดน่าน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ คำรณ ณ ลำพูน (16)* 37,631 49.05
ไทยรักไทย สุรพล เธียรสูตร (7) 27,228 35.49
ชาติไทย พูนสุข โลหะโชติ (9)* 8,902 11.60
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สมยศ พิราญคำ (21) 1,353 1.76
ราษฎร อำภาพร กันตา (13) 588 0.77
เกษตรมหาชน ผล อิ่นแก้ว (35) 526 0.69
ถิ่นไทย หรรษา แพงสร้อย (11) 493 0.64
ผลรวม 76,721 100.00
บัตรดี 76,721 83.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,569 3.90
บัตรเสีย 11,153 12.20
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,443 79.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,081 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอบ้านหลวง อำเภอเวียงสา อำเภอนาน้อย อำเภอนาหมื่น อำเภอแม่จริม และอำเภอสันติสุข

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดน่าน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ชลน่าน ศรีแก้ว (7) 38,146 49.53
ประชาธิปัตย์ ชัยวุฒิ คูอาริยะกุล (16) 20,929 27.18
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ประทีป อินแสง (15) 6,728 8.74
ชาติไทย เดช วงศ์เทพ (9)✔ 3,936 5.11
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ลักษณา สิทธิวัง (21) 3,401 4.42
ราษฎร กิตติก้อง ยอดหงษ์ (13) 2,832 3.68
ถิ่นไทย อวยพร อินทรบัวศรี (11) 1,037 1.35
ผลรวม 77,009 100.00
บัตรดี 77,009 82.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,199 3.43
บัตรเสีย 13,104 14.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 93,312 80.44
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,000 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอปัว อำเภอเชียงกลาง อำเภอสองแคว อำเภอทุ่งช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอบ่อเกลือ และอำเภอท่าวังผา (เฉพาะตำบลจอมพระและตำบลยม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดน่าน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วัลลภ สุปริยศิลป์ (7)* 22,647 36.27
ประชาธิปัตย์ ตะวัน สวนนันท์ (16) 14,505 23.23
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อาณัติ จริยโกมล (21) 9,305 14.90
ชาติไทย พงษ์พัฒน์ ธีระประเทืองกุล (9)✔ 7,256 11.62
ราษฎร พลตรี พงษ์ศักดิ์ น้อยผา (13) 5,108 8.18
ถิ่นไทย เรืองเดช จอมเมือง (11) 2,925 4.68
เกษตรมหาชน ฉัตรไชย เนตรทิพย์ (35) 698 1.12
ผลรวม 62,444 100.00
บัตรดี 62,444 74.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,148 3.78
บัตรเสีย 18,026 21.56
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,618 78.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,572 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)