ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ73.39%
  First party Second party Third party
 
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Thaksin DOD 20050915.jpg
กร ทัพพะรังสี 1970.jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 พรรคใหม่ 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1
คะแนนเสียง 97,533 84,897 23,063
% 40.90 35.61 9.67

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ประชาธิปัตย์ 97,533 40.90%
ไทยรักไทย 84,897 35.61%
ชาติพัฒนา 23,063 9.67%
อื่น ๆ 32,946 13.82%
ผลรวม 238,439 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
40.90%
ไทยรักไทย
  
35.61%
ชาติพัฒนา
  
9.67%
อื่น ๆ
  
13.82%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 26,331 35.83% 22,395 30.48% 24,755 33.69% 73,481 100.00% ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
เขต 2 42,716 50.26% 30,823 36.27% 11,287 13.47% 84,986 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 28,486 35.62% 31,679 39.61% 19,807 24.77% 79,972 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 97,533 40.90% 84,897 35.61% 56,009 23.49% 238,439 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ไทยรักไทย 3 76,389 35.25% 1 เพิ่มขึ้น1 33.33%
ประชาธิปัตย์ 3 76,152 35.14% 1 Steady 33.33%
ชาติพัฒนา 2 45,100 20.81% 1 ลดลง1 33.33%
อื่น ๆ 11 19,042 8.80% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 19 216,683 100.00% 3 Steady 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
35.25%
ประชาธิปัตย์
  
35.14%
ชาติพัฒนา
  
20.81%
อื่น ๆ
  
8.80%
ที่นั่ง
ไทยรักไทย
  
33.33%
ประชาธิปัตย์
  
33.33%
ชาติพัฒนา
  
33.33%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติพัฒนา อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 10,659 15.50% 16,985 24.69% 37,731 54.86% 3,406 4.95% 68,781 100.00% ชาติพัฒนา รักษาที่นั่ง
เขต 2 32,137 41.92% 41,258 53.81% 3,276 4.27% 76,671 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 33,593 47.16% 17,909 25.14% 7,369 10.35% 12,360 17.35% 71,231 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 76,389 35.25% 76,152 35.14% 45,100 20.81% 19,042 8.80% 216,683 100.00%

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดจันทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,267 0.53
ชาวไทย (2) 413 0.17
กสิกรไทย (3) 383 0.16
นิติมหาชน (4) 449 0.19
ความหวังใหม่ (5) 1,824 0.76
รักสามัคคี (6) 759 0.32
ไทยรักไทย (7) 84,897 35.61
ชาติประชาธิปไตย (8) 2,359 0.99
ชาติไทย (9) 2,601 1.09
สันติภาพ (10) 146 0.06
ถิ่นไทย (11) 5,089 2.13
พลังประชาชน (12) 616 0.26
ราษฎร (13) 3,239 1.36
สังคมใหม่ (14) 365 0.15
เสรีธรรม (15) 1,104 0.46
ประชาธิปัตย์ (16) 97,533 40.90
อำนาจประชาชน (17) 1,130 0.47
ประชากรไทย (18) 1,862 0.78
ไท (19) 382 0.16
ก้าวหน้า (20) 362 0.16
ชาติพัฒนา (21) 23,063 9.67
แรงงานไทย (22) 202 0.08
เผ่าไท (23) 163 0.07
สังคมประชาธิปไตย (24) 280 0.12
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 195 0.08
พัฒนาสังคม (26) 421 0.18
ไทยช่วยไทย (27) 962 0.40
ไทยมหารัฐ (28) 516 0.22
ศรัทธาประชาชน (29) 135 0.06
วิถีไทย (30) 86 0.04
ไทยประชาธิปไตย (31) 2,508 1.05
พลังธรรม (32) 631 0.26
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 480 0.20
กิจสังคม (34) 329 0.14
เกษตรมหาชน (35) 575 0.24
พลังเกษตรกร (36) 649 0.27
สยาม (37) 464 0.19
บัตรดี 238,439 95.67
บัตรเสีย 6,310 2.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,482 1.80
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 249,224 73.39
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 339,574 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองจันทบุรี และอำเภอแหลมสิงห์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ธวัชชัย อนามพงษ์ (21)* 37,731 54.86
ประชาธิปัตย์ เชิงชาย วุฒิ (16) 16,985 24.69
ไทยรักไทย ขวัญเมือง บำรุงพนิชถาวร (7) 10,659 15.50
ชาติไทย นันท์ โกศลานนท์ (9) 2,615 3.80
ราษฎร ทวีศักดิ์ สมตระกูล (13) 560 0.81
พลังเกษตรกร สหรัฐ กุณฑลบุตร (36) 231 0.34
ผลรวม 68,781 100.00
บัตรดี 68,781 88.96
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,135 4.06
บัตรเสีย 5,393 6.98
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,309 75.25
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,741 100.00
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอท่าใหม่ อำเภอนายายอาม อำเภอแก่งหางแมว อำเภอมะขาม (เฉพาะตำบลวังแซ้มและตำบลฉมัน) และกิ่งอำเภอเขาคิชฌกูฏ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ คมคาย พลบุตร (16)* 41,258 53.81
ไทยรักไทย ประวัฒน์ อุตตะโมต (7)* 32,137 41.92
ความหวังใหม่ อำนาจ เพ่งจิตต์ (5)✔ 2,037 2.66
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สมศักดิ์ พงษ์สุพรรณ (15) 803 1.05
เกษตรมหาชน อภิชน ลิขิตมณีชัย (35) 308 0.40
ศรัทธาประชาชน เยาวเรศ ตรีศุกร์ (29) 128 0.17
ผลรวม 76,671 100.00
บัตรดี 76,671 86.67
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,188 2.47
บัตรเสีย 9,607 10.86
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,466 75.57
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 117,067 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภอสอยดาว อำเภอโป่งน้ำร้อน อำเภอขลุง และอำเภอมะขาม (ยกเว้นตำบลวังแซ้มและตำบลฉมัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พงศ์เวช เวชชาชีวะ (7) 33,593 47.16
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ ภัทรเบญจพล (16) 17,909 25.14
ราษฎร ชยันต์ เนรัญชร (13) 9,498 13.33
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อมร อนันตชัย (21) 7,369 10.35
ชาติไทย กิตติ พลแก้ว (9) 1,972 2.77
ความหวังใหม่ ศักดิ์ชัย จันทรังษ์ (5) 806 1.13
เกษตรมหาชน มนูญ เวทการ (35) 84 0.12
ผลรวม 71,231 100.00
บัตรดี 71,231 85.36
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,572 3.08
บัตรเสีย 9,646 11.56
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,449 69.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 119,766 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)