จักรวรรดิมาลี
หน้าตา
จักรวรรดิมาลี Manden Kurufa | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คริสต์ทศวรรษ 1230–คริสต์ทศวรรษ 1600 | |||||||||||||||
ธงชาติ | |||||||||||||||
จักรวรรดิมาลี (ราว ค.ศ. 1350) | |||||||||||||||
สถานะ | จักรวรรดิ | ||||||||||||||
เมืองหลวง | นิอานิ และต่อมาคังกาบา | ||||||||||||||
ภาษาทั่วไป | มันดิงคา | ||||||||||||||
ศาสนา | อิสลาม | ||||||||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ | ||||||||||||||
มันซา (จักรพรรดิ) | |||||||||||||||
• ค.ศ. 1235-1255 | Sundiata Keita (แรก) | ||||||||||||||
• ราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 | มาห์มุดที่ 4 (สุดท้าย) | ||||||||||||||
สภานิติบัญญัติ | กบารา | ||||||||||||||
• สภาสูง | - | ||||||||||||||
• สภาล่าง | - | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
• ก่อตั้ง | คริสต์ทศวรรษ 1230 | ||||||||||||||
• เมืองหลวงย้ายจากนิอานิไปคังกาบา | ค.ศ. 1559 | ||||||||||||||
• จักรวรรดิถูกแบ่งระหว่างพระราชโอรสของจักรพรรดิ | คริสต์ทศวรรษ 1600 | ||||||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||||||
ค.ศ. 1380[1] | 1,100,000 ตารางกิโลเมตร (420,000 ตารางไมล์) | ||||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||||
• ค.ศ. 1450[2] | 45000000 | ||||||||||||||
สกุลเงิน | ผงทอง (เกลือ, ทองแดง และ หอย) | ||||||||||||||
| |||||||||||||||
จักรวรรดิมาลี หรือ จักรวรรดิมานดิง หรือ มานเดนคูรูฟา (อังกฤษ: Mali Empire หรือ Manding Empire หรือ Manden Kurufa) คือวัฒนธรรมแอฟริกาตะวันตกของชนมันดิงคา ที่รุ่งเรืองระหว่างราว คริสต์ทศวรรษ 1230 จนถึง คริสต์ทศวรรษ 1600 จักรวรรดิก่อตั้งโดย Sundiata Keita และมีชื่อเสียงถึงความมั่งคั่งของประมุขโดยเฉพาะมันซามูซา จักรวรรดิมาลีมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอันลึกซึ้งต่อแอฟริกาตะวันตก ซึ่งทำให้เกิดการเผยแพร่ของภาษา กฎหมาย และประเพณีตามลำแม่น้ำไนเจอร์ อาณาบริเวณของมาลีรวมกันมีขนาดใหญ่กว่ายุโรปตะวันตกและประกอบด้วยอาณาจักรบริวารและจังหวัดต่างๆ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Turchin, Peter and Jonathan M. Adams and Thomas D. Hall: "East-West Orientation of Historical Empires and Modern States", page 222. Journal of World-Systems Research, Vol. XII, No. II, 2006
- ↑ Walker, Sheila S.: "African roots/American cultures: Africa in the creation of the Americas", page 127. Rowman & Littlefield, 2001
- Niane, D.T. (1994). Sundiata: An Epic of Old Mali. Harlow: Longman African Writers. pp. 101 Pages. ISBN 0-58226-475-8.
- Niane, D.T. (1975). Recherches sur l’Empire du Mali au Moyen Âge. Paris: Présence Africaine. pp. 112 Pages.