คลอแรมเฟนิคอล
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | Topical (ocular), oral, IV, IM |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 75-90% |
การเปลี่ยนแปลงยา | Hepatic |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 1.5-4.0 hours |
การขับออก | Renal |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
ECHA InfoCard | 100.000.262 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C11H12Cl2N2O5 |
มวลต่อโมล | 323.132 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
คลอแรมเฟนิคอล (อังกฤษ: Chloramphenicol หรือ 2,2-dichlor-N-[(aR,bR) -b-hydroxy-a-hydroxymethyl-4-nitrophenethyl]acetamide) เป็น ยาปฏิชีวนะ (antibiotic) ได้จาก แบคทีเรีย ชื่อ สเตรปโตมัยซีส เวเนซูเอลี (Streptomyces venezuelae) และปัจจุบันได้จากการสังเคราะห์ คลอแรมเฟนิคอล มีประสิทธิภาพในการต้านจุลินทรีย์ได้หลายชนิด แต่เนื่องจากมันมีผลข้างเคียงที่อันตรายมาก เช่น ทำลายไขกระดูก (bone marrow) และ มะเร็งเม็ดโลหิตขาว (aplastic anemia)
ถึงแม้จะมีผลข้างเคียงที่อันตรายแต่องค์การอนามัยโลกก็อนุญาตให้ใช้ คลอแรมเฟนิคอล สำหรับรักษาโรคทางเดินอาหารของเด็กในประเทศโลกที่ 3 กรณีที่ไม่มีทางเลือกใช้ยาที่ดีกว่าและถูกกว่า โรคที่ใช้รักษาได้แก่อหิวาตกโรค (cholera) สามารถทำลายเชื้อ วิบริโอ (vibrio) และลดอาการ ท้องร่วง (diarrhea) มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ วิบริโอ ที่ดื้อยา เตตร้าไซคลิน (tetracycline) ได้ดี และนอกจากนี้ยังใช้ใน ยาหยอดตา (eye drop) เพื่อรักษาโรค เยื่อตาขาวอักเสบ (conjunctivitis)
รหัส
[แก้]คลอแรมเฟนิคอล มีรหัสที่แตกต่างกันมากมายใน ระบบแบ่งตามกายวิภาคศาสตร์ที่ยามีผลรักษา: