เขตศาลยุติธรรมไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เขตศาลยุติธรรมไทย เป็นเขตอำนาจตามที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลได้กำหนดไว้ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาทั้งปวงที่อยู่ในขอบเขต

ศาลชั้นต้น[แก้]

ศาลจังหวัด[แก้]

เขตศาลจังหวัด มิได้หมายความตามภูมิศาสตร์ที่ตั้ง ในจังหวัดหนึ่งอาจมีศาลจังหวัดมากกว่า 1 ศาล เนื่องจากบางจังหวัดมีพื้นที่กว้าง หรือบางท้องที่อยู่ห่างไกลจากเขตอำเภอเมืองเป็นอย่างมาก จึงต้องจัดตั้งศาลจังหวัดขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการติดต่อราชการ และการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมในชั้นศาล

รายชื่อศาลจังหวัดที่มิได้ตั้งตามเขตจังหวัด[แก้]

ศาลจังหวัดที่ตั้งตามเขตเมืองในอดีต[แก้]
  1. ศาลจังหวัดสวรรคโลก (จังหวัดสุโขทัย) เดิมคือ ศาลเมืองสวรรคโลก
  2. ศาลจังหวัดกบินทร์บุรี (จังหวัดปราจีนบุรี) เดิมคือ ศาลเมืองกบินทร์บุรี[1]
  3. ศาลจังหวัดหล่มสัก (จังหวัดเพชรบูรณ์) เดิมคือ ศาลเมืองหล่มสัก
  4. ศาลจังหวัดธัญบุรี (จังหวัดปทุมธานี) เดิมคือ ศาลเมืองธัญบุรี
ศาลเมืองหลวงที่ได้ตั้งตามเขตเมืองหลวง[แก้]
  1. ศาลจังหวัดมีนบุรี (กรุงเทพมหานคร)
  2. ศาลจังหวัดพระโขนง (กรุงเทพมหานคร)
  3. ศาลจังหวัดตลิ่งชัน (กรุงเทพมหานคร)
ศาลจังหวัดที่มิได้ตั้งตามเขตจังหวัด หรือเขตเมืองเดิม[แก้]
  1. ศาลจังหวัดปากพนัง (จังหวัดนครศรีธรรมราช) เป็นศาลจังหวัดแห่งแรกที่มิได้จัดตั้งตามเขตจังหวัด เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2448[2]
  2. ศาลจังหวัดแม่สะเรียง (จังหวัดแม่ฮ่องสอน)
  3. ศาลจังหวัดแม่สอด (จังหวัดตาก)
  4. ศาลจังหวัดตะกั่วป่า (จังหวัดพังงา)
  5. ศาลจังหวัดหลังสวน (จังหวัดชุมพร)
  6. ศาลจังหวัดเบตง (จังหวัดยะลา)
  7. ศาลจังหวัดภูเขียว (จังหวัดชัยภูมิ)
  8. ศาลจังหวัดไชยา (จังหวัดสุราษฎร์ธานี)
  9. ศาลจังหวัดทุ่งสง (จังหวัดนครศรีธรรมราช)
  10. ศาลจังหวัดฝาง (จังหวัดเชียงใหม่)
  11. ศาลจังหวัดสีคิ้ว (จังหวัดนครราชสีมา)
  12. ศาลจังหวัดพล (จังหวัดขอนแก่น)
  13. ศาลจังหวัดบัวใหญ่ (จังหวัดนครราชสีมา)
  14. ศาลจังหวัดสว่างแดนดิน (จังหวัดสกลนคร)
  15. ศาลจังหวัดนางรอง (จังหวัดบุรีรัมย์)
  16. ศาลจังหวัดพัทยา (อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี)
  17. ศาลจังหวัดชัยบาดาล (จังหวัดลพบุรี)
  18. ศาลจังหวัดเทิง (จังหวัดเชียงราย)
  19. ศาลจังหวัดรัตนบุรี (จังหวัดสุรินทร์)
  20. ศาลจังหวัดนาทวี (จังหวัดสงขลา)
  21. ศาลจังหวัดกันทรลักษ์ (จังหวัดศรีสะเกษ)
  22. ศาลจังหวัดเดชอุดม (จังหวัดอุบลราชธานี)
  23. ศาลจังหวัดเกาะสมุย (จังหวัดสุราษฎร์ธานี)
  24. ศาลจังหวัดทองผาภูมิ (จังหวัดกาญจนบุรี)
  25. ศาลจังหวัดชุมแพ (จังหวัดขอนแก่น)
  26. ศาลจังหวัดเชียงคำ (จังหวัดพะเยา)
  27. ศาลจังหวัดหล่มสัก[3] (จังหวัดเพชรบูรณ์)
  28. ศาลจังหวัดวิเชียรบุรี (จังหวัดเพชรบูรณ์)
  29. ศาลจังหวัดเวียงสระ (จังหวัดสุราษฎร์ธานี)
  30. ศาลจังหวัดพิมาย (จังหวัดนครราชสีมา)
  31. ศาลจังหวัดหัวหิน (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์)
  32. ศาลจังหวัดฮอด[4] (จังหวัดเชียงใหม่)
  33. ศาลจังหวัดพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ)

สาขา[แก้]

  1. สาขานนทบุรี อาคารศาลแขวงนนทบุรี ชั้น 7, ชั้น 8 ถนนรัตนาธิเบศร์ (ใกล้ทางแยกแคราย) ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 รับผิดชอบเขตจังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี (เฉพาะอำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอสามโคก และอำเภอลาดหลุมแก้ว)
  2. สาขามีนบุรี อาคารศาลจังหวัดมีนบุรี ชั้น 4 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510 รับผิดชอบเขตมีนบุรี เขตคลองสามวา เขตหนองจอก และเขตลาดกระบัง
  3. สาขาสมุทรปราการ อาคารศาลแขวงสมุทรปราการ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280 รับผิดชอบเขตจังหวัดสมุทรปราการ
  4. สาขาสมุทรสาคร อาคารศาลจังหวัดสมุทรสาคร อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 รับผิดชอบเขตจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดนครปฐม

ศาลชำนัญพิเศษ[แก้]

ศาลแรงงาน[แก้]

ศาลภาษีอากร[แก้]

ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ[แก้]

ศาลชั้นอุทธรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2450/018/475.PDF
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2448/017/392_2.PDF
  3. "เว็บไซต์แสดงประวัติศาลจังหวัดหล่มสัก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-04. สืบค้นเมื่อ 2014-08-15.
  4. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดที่อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๒