สโมสรฟุตบอลโดม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โดม เอฟซี
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลโดม
ฉายาลูกแม่โดม
ก่อตั้งธันวาคม พ.ศ. 2557
สนามสนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต
(ความจุ:20,267 ที่นั่ง)
เจ้าของไทย มูลนิธิฟุตบอลธรรมศาสตร์
ประธานไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
ผู้จัดการไทย ยรรยง อัครจินดานนท์
ผู้ฝึกสอนไทย ประทีป เสนาลา
ลีกไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
2565อันดับ 2 โซนปริมณฑล
เว็บไซต์เฟซบุ๊กของสโมสรอย่างเป็นทางการ
สีชุดทีมเยือน
สีชุดที่ 3

โดม เอฟซี เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นทีมในโครงการพัฒนาฟุตบอลของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำเนินการโดยมูลนิธิฟุตบอลธรรมศาสตร์ ปัจจุบันเข้าร่วมการแข่งขันในไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก

ประวัติ[แก้]

สโมสรโดม เอฟซี ก่อตั้งขึ้นเมื่อราวเดือนธันวาคม 2557 โดยเป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาฟุตบอลของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งได้มีการยื่นเรื่องให้กับสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯในการส่งทีมเข้าแข่งขันฟุตบอลดิวิชั่น 2 เมื่อปี 2556 แต่ไม่ผ่านการพิจารณา อย่างไรก็ตามสโมสรได้นำแผนดังกล่าวมาปรับปรุงและได้ยื่นเรื่องเสนอต่อสมาคมฟุตบอลอีกครั้งในปี 2557 และได้รับอนุมัติให้เข้าร่วมการแข่งขัน โดยอยู่ในโซนกรุงเทพและภาคกลาง[1]

แต่เดิม เคยการผลักดันของเหล่าศิษย์เก่าให้มีการตั้งสโมสรฟุตบอลอาชีพหลายปี แล้ว แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จ เพราะยังไม่ได้หารือกันอย่างจริงจัง ซึ่งเมื่อปี 2552 ก็มีการนำแนวคิดตั้งสโมสรดังกล่าวเข้ามาพูดถึง หลังจากทีมมหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบความสำเร็จในการพัฒนานักกีฬาฟุตบอล [2]

สโมสรโดม เอฟซี เป็นสโมสรฟุตบอลของชาวธรรมศาสตร์ มีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักกีฬา ป้อนเข้าสู่ระดับชาติอย่างต่อเนื่อง ผ่านโครงการพัฒนากีฬาฟุตบอล โดยไม่ใช้นักกีฬาต่างชาติ และมีฐานแผนบอลอยู่รอบพื้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี และศิษย์เก่าทั่วประเทศ ผ่านการบริหารงานร่วมของมูลนิธิฟุตบอลธรรมศาสตร์ และศูนย์บริการการกีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สโมสรโดม เอฟซี มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ ยิมเนเซียม 7, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

สนามแข่งขัน[แก้]

เมนสเตเดียม ธรรมศาสตร์ รังสิต
ธรรมศาสตร์ สเตเดียม
ที่ตั้งอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย
เจ้าของศูนย์บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผู้ดำเนินการศูนย์บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความจุ20,000 ที่นั่ง
พื้นผิวหญ้า
การก่อสร้าง
เปิดใช้สนาม2541
ปรับปรุง2551
การใช้งาน
สโมสรโดม เอฟซี

สโมสรโดม เอฟซี ใช้สนามธรรมศาสตร์ สเตเดียม เป็นสนามเหย้า โดยเป็นสนามฟุตบอลมาตรฐาน เป็นเก้าอี้ทั้งสนาม ขนาดความจุ 20,000 ที่นั่ง และมีสิ่งอำนวยความสะดวกครบถ้วน ประกอบไปด้วย

  • ห้อง VIP ปรับอากาศ
  • ห้องพักนักกีฬาปรับอากาศ
  • ห้องประชุมมาตรฐาน
  • ห้องพักกรรมการ
  • ห้องแถลงข่าว
  • จอ LED ขนาดใหญ่
  • พื้นที่จอดรถรองรับได้ 1,000 คัน

การเดินทางไปสนาม[แก้]

  • รถเมล์ สาย 29 และ 510 เข้ามาภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต หลังจากนั้นให้ต่อรถNGV ภายในมหาวิทยาลัย
  • รถตู้ รถตู้อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ธรรมศาสตร์ รังสิต 2.รถตู้จตุจักร - ธรรมศาสตร์ รังสิต 3. รถตู้ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ - ธรรมศาสตร์ รังสิต
  • รถไฟ สามารถนั่งรถไฟชานเมือง ลงที่สถานีเชียงราก และต่อรถสองแถวที่จอดรอหน้าสถานี โดยรถสองแถวจะผ่านประตูเข้าหน้าสนามแข่งขัน
  • รถNGVภายในมหาวิทยาลัยรถ NGV สาย 1 และ สาย 3 จะผ่านบริเวณลานพยานาค ท่านสามารถเดินเข้าสู่สนามได้ ซึ่งไม่เสียค่าใช้จ่าย
  • รถรับจ้าง ภายในมหาวิทยาลัยมีรถมอเตอร์ไซต์วินรับจ้าง จะพาท่านเข้าสู่สนาม ซึ่งเสียค่าโดยสารประมาณ 10-15 บาท

สปอนเซอร์[แก้]

ปี ผู้สนับสนุนหลัก ผู้สนับสนุนรอง เสื้อแข่งขัน
2015 น้ำตาลวังขนาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ศูนย์บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สนามหญ้าเทียม FLiCK ไทย เดฟโฟ สปอร์ต
2016 น้ำตาลวังขนาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ศูนย์บริการการกีฬา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สนามหญ้าเทียม FLiCK ไทย WARRIX
2017 น้ำตาลวังขนาย SKY Hight , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, , ไทย WARRIX
2018 - SKY Hight , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, น้ำดื่มโดม ไทย KELA
2019 - สำนักงานบริหารทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, น้ำดื่มโดม ไทย KELA
2020 - สำนักงานบริหารทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, น้ำดื่มโดม, น้ำดื่มเดชมิตร ไทย IMANE

รายชื่อผู้บริหารสโมสรและคณะทำงาน[แก้]

ตำแหน่ง 2558 2559 2560 2561 2562 2563
ประธานสโมสร ไทย ศุภกร พลกุล ไทย ศุภกร พลกุล ไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
ประธานที่ปรึกษาสโมสร ไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ไทย ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ไทย สมชาย พูลสวัสดิ์ ไทย สมชาย พูลสวัสดิ์ ไทย สมชาย พูลสวัสดิ์ ไทย สมชาย พูลสวัสดิ์
ที่ปรึกษาสโมสร ไทย สมชาย พูลสวัสดิ์ ไทย สมชาย พูลสวัสดิ์
ที่ปรึกษาสโมสร ไทย สันติภาพ เตชะวนิช ไทย สันติภาพ เตชะวนิช
ผู้จัดการทีม ไทย ยรรยง อัครจินดานนท์ ไทย ยรรยง อัครจินดานนท์ ไทย ยรรยง อัครจินดานนท์
ผู้จัดการสนาม ไทย วรรณะ วชิระธาดา ไทย วรรณะ วชิระธาดา ไทย อดิเรก พรมเสน ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร
เลขานุการทีม ไทย อดิเรก พรมเสน ไทย อดิเรก พรมเสน ไทย อดิเรก พรมเสน ไทย อดิเรก พรมเสน ไทย ธารวิมล พรหมอุบล ไทย ธารวิมล พรหมอุบล
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ไทย ณัฐพงษ์ สมสินสวัสดิ์ ไทย ณัฐพงษ์ สมสินสวัสดิ์ ไทย ภาณุวัฒน์ เลิศขามป้อม ไทย ภาณุวัฒน์ เลิศขามป้อม ไทย ภาณุวัฒน์ เลิศขามป้อม ไทย ภาณุวัฒน์ เลิศขามป้อม
ฝ่ายจัดการแข่งขัน ไทย ภูวดล ศิริชัยสินธพ ไทย ภูวดล ศิริชัยสินธพ ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร
ฝ่ายจัดการแข่งขัน ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร ไทย ณัฐพงษ์ จงอักษร ไทย ธารวิมล พรหมอุบล ไทย ธารวิมล พรหมอุบล

รายชื่อทีมผู้ฝึกสอน[แก้]

2558 2559 2560 2561 2562 2563
หัวหน้าผู้ฝึกสอน ไทย วรพรรณ ตุ่นต้น ไทย วรพรรณ ตุ่นต้น ไทย วรพรรณ ตุ่นต้น ไทย วรพรรณ ตุ่นต้น ไทย ประทีป เสนาลา ไทย ประทีป เสนาลา
ผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตู ไทย สมศักดิ์ อ้อชัยภูมิ ไทย วรวุฒิ ทิพยศักดิ์วารกุล ไทย วรวุฒิ ทิพยศักดิ์วารกุล N/A N/A N/A
ผู้ฝึกสอน ไทย อมร ผิวดี ไทย อมร ผิวดี ไทย อมร ผิวดี ไทย โชคทวี พรหมรัตน์
ผู้ฝึกสอน ไทย รัตนธร อุประ ไทย รัตนธร อุประ
นักกายภาพบำบัด ไทย นรีภัทร ลิ้มเทียมรัตน์ ไทย กำพล อยู่เมือง ไทย กำพล อยู่เมือง ไทย ธวัชชัย แซ่โง้ว ไทย ธวัชชัย แซ่โง้ว ไทย ธวัชชัย แซ่โง้ว
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ไทย สิทธิกร ลุนจันทา ไทย จักรพันธ์ ชุบไธสง N/A N/A N/A N/A
นักวิทยาศาสตร์การกีฬา - ไทย ธนภัทร โทอุดทา N/A N/A N/A N/A
เจ้าหน้าที่ทีม ไทย สุรพันธ์ รามฤทธิ์ ไทย สุรพันธ์ รามฤทธิ์ ไทย สุรพันธ์ รามฤทธิ์ ไทย สุรพันธ์ รามฤทธิ์ ไทย สุรพันธ์ รามฤทธิ์ ไทย สุรพันธ์ รามฤทธิ์
เจ้าหน้าที่ทีม ไทย วรเมธ บุญยก ไทย วรเมธ บุญยก ไทย วรเมธ บุญยก ไทย วรเมธ บุญยก ไทย ฐิติพันธุ์ พงศ์ศรี
เจ้าหน้าที่ทีม ไทย ชนินทร์ อินทร์พรหม ไทย ชนินทร์ อินทร์พรหม ไทย ชนินทร์ อินทร์พรหม ไทย อานัส หนูเรือง ไทย ภูรินทร์ พรมสุข

ผู้เล่น[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK ไทย สุพศิน หนูพิชัย
2 MF ไทย ธวัชชัย บุพศิริ
3 DF ไทย สักการวิช นิ่มมา
4 DF ไทย อัครชัย เสมาตั้งเจริญ
5 DF ไทย ปิ่นพงศ์ พิศพักตร์
6 DF ไทย พรชัย เชื้อผู้ดี
8 MF ไทย ประทีป เสนาลา
9 FW ไทย อัชร๊อบ ยูฮันนั้น
10 FW ไทย ดนุเดช ตรีมงคลโชค
11 MF ไทย ขวัญทนง พันธ์ยก
12 FW ไทย ชาติตระการ ตาลเลิศ
13 DF ไทย ชาญณรงค์ เรือนสถาพร
14 MF ไทย มนินท์ เภามี
15 DF ไทย พรวศิน วันศรี
16 MF ไทย โชคอนันท์ ทองมั่ง
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
17 MF ไทย อิศเรศ น้อยใจบุญ
18 MF ไทย อานุภาพ อ่องลออ
19 FW ไทย วินัย ดอนดี
20 MF ไทย วิภูษิต รุ่งบุญคง
21 DF ไทย ภานุพันธ์ จุมผาลา
22 GK ไทย อัครพล อ่อนศรี
23 DF ไทย กานต์ดนัย ถาวรศักดิ์
24 GK ไทย เอกบดินทร์ นบนอบ
25 MF ไทย ชาญวิทย์ มณีอินทร์
26 DF ไทย อนุชิต ชูชี
27 FW ไทย อภิพัฒน์ สอิงทอง
28 MF ไทย เจตริน เพชรบริสุทธิ์
29 GK ไทย เพชรปรัชญา เหลืองเดชานุรักษ์(ยืมตัว)
32 MF ไทย ประเสริฐ พัฒนธนาวิสุทธิ์
33 DF ไทย กิตติพงศ์ ปถมสุข
37 MF ไทย ชโนทัจน์ พิพัฒน์มงคลชัย
ผู้เล่น สโมสรโดม เอฟซี ในปี 2558


ผลการแข่งขันของสโมสร[แก้]

ฤดูกาล ลีก เอฟเอคัพ ลีกคัพ ผู้ทำประตูสูงสุด
ดิวิชั่น แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย คะแนน อันดับ ชื่อ ประตู
2558 ดิวิชัน 2 26 4 5 19 19 47 15 14 ไม่ส่งแข่งขัน R2 ธนาเศรษฐ์ จินตภาภูธนศิริ 9
2559 ดิวิชัน 2 20 4 5 11 18 40 17 10
2560 ไทยลีก 4 30 11 9 10 31 28 42 5
2561 ไทยลีก 4 22 5 4 13 19 32 19 12 รอบคัดเลือก รอบคัดเลือกรอบสอง
2562 อเมเจอร์ลีก 2 1 0 1 9 2 3 2 ไม่ส่งแข่งขัน ไม่ส่งแข่งขัน
2563 อเมเจอร์ลีก งดจัดการแข่งขันเนื่องจากการระบาดของโควิด-19 รอบ 32 ทีม ไม่ส่งแข่งขัน
2564 อเมเจอร์ลีก งดจัดการแข่งขันเนื่องจากการระบาดของโควิด-19 รอบคัดเลือก ไม่ส่งแข่งขัน
2565 อเมเจอร์ลีก 6 4 2 0 11 3 14 2 (ปริมณฑล) รอบ 64 ทีมสุดท้าย ไม่ส่งแข่งขัน
แชมป์เปียนส์ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 เลื่อนชั้น ตกชั้น กำลังแข่งขัน

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]