ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 – โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ฤดูกาล2566
วันที่4 กุมภาพันธ์ – 1 เมษายน 2566[1]
ทีมชนะเลิศสุรนารี อาร์มี่ 2
เลื่อนชั้นสุรนารี อาร์มี่ 2
จำนวนนัด45
จำนวนประตู121 (2.69 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดชิงวพัฒน์ เครือวัลย์
วินัย จารุการ
เทิดเกียรติ ศิริบุญ
(5 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
6 ประตู
อุบล โปลี 6–0 ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด
(1 เมษายน 2566)
ศรีสะเกษ ซิตี้ 7–1 อุบลคิดส์ ซิตี้
(1 เมษายน 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
3 ประตู
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต 1–4 กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด
(5 กุมภาพันธ์ 2566)
กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด 1–4 ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด
(18 มีนาคม 2566)
จำนวนประตูสูงสุด8 ประตู
ศรีสะเกษ ซิตี้ 7–1 อุบลคิดส์ ซิตี้
(1 เมษายน 2566)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต
ศรีสะเกษ ซิตี้
สุรนารี อาร์มี่ 2
อุบล โปลี
ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
8 นัด
อุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
9 นัด
เอฟซี โคราช
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
เอฟซี โคราช
จำนวนผู้ชมสูงสุด835 คน
ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด 0–1 วิทยาลัยพิชญบัณฑิต
(25 กุมภาพันธ์ 2566)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด 1–2 สุรนารี อาร์มี่ 2
(4 กุมภาพันธ์ 2566)
อุบลคิดส์ ซิตี้ 0–0 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
(4 กุมภาพันธ์ 2566)
อุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด 2–1 ศรีสะเกษ ซิตี้
(5 กุมภาพันธ์ 2566)
อุบล โปลี 4–0 กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด
(12 มีนาคม 2566)
จำนวนผู้ชมรวม9,959 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย243 คน
2567
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 1 เมษายน 2566

ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 4 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลแรกของไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

สโมสร[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2566 โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจำนวน 10 สโมสร

สนามเหย้า และที่ตั้ง[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ
กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด กาฬสินธุ์ สนามกีฬากลางจังหวัดกาฬสินธุ์ 3,000
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นครราชสีมา
(เมืองนครราชสีมา)
มุขสเตเดียม 1,500
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต หนองบัวลำภู สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู 1,500
ศรีสะเกษ ซิตี้ ศรีสะเกษ สนามกีฬากลางมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2,000
สุรนารี อาร์มี่ 2 นครราชสีมา
(เมืองนครราชสีมา)
สนามกีฬากลางค่ายสุรนารี 3,000
อุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด อุดรธานี สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย จังหวัดอุดรธานี 6,000
อุบลคิดส์ ซิตี้ อุบลราชธานี
(วารินชำราบ)
สนามกีฬากลางมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2,000
อุบล โปลี อุบลราชธานี
(เมืองอุบลราชธานี)
ยูเอ็มทีสเตเดียม 10,000
เอฟซี โคราช นครราชสีมา
(เมืองนครราชสีมา)
สนามกีฬาสุรพลากรีฑาสถาน 3,000
ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด ชัยภูมิ สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชัยภูมิ 2,000

ข้อมูลสโมสร[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด ไทย พลาจินตวรรธน์ ประดับศรี ไทย สุพัฒน์ ภูยาทิพย์ เคดีซีสปอร์ต
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ไทย เทอดทูน ค้าขาย ไทย อัสสราพงษ์ เลิศกระโทก พีบี ดีไซน์
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต ไทย จักราวุธ ฮามคำฮัก ไทย นครินทร์ สระทอง อีโก้สปอร์ต
ศรีสะเกษ ซิตี้ ไทย จีรวัฒน์ ทองลือ ไทย วุฒิชัย ทาทอง เอ็นดีสปอร์ต
สุรนารี อาร์มี่ 2 ไทย ไกรเกียรติ คูณธนทรัพย์ ไทย ประลอง สาวันดี แอสโตร
อุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด ไทย กิษฐชัย วงศ์สิม ไทย นิติรัฐ มหาเสนา อีโก้สปอร์ต
อุบลคิดส์ ซิตี้ ไทย ชินพันธุ์ ธนภูมิศิริพงษ์ ไทย วัชระ เกรียนรัมย์ เอสไนน์สปอร์ต
อุบล โปลี ไทย ภาณุวัฒน์ ศรีเภา ไทย รณชัย สุขขุม ทีดับเบิลยูสปอร์ต
เอฟซี โคราช ไทย ศยาม สิทธิอำไพ ไทย สิทธิพล เจริญสุข โอเซล
ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด ไทย เชวง คงโนนกอก ไทย สุวิทย์ นาจําเริญ ไฮ-เทค แอพพาเรล

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 สุรนารี อาร์มี่ 2 (C, P) 9 6 2 1 13 5 +8 20 เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 – โซนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2 อุบล โปลี 9 5 3 1 23 7 +16 18
3 ศรีสะเกษ ซิตี้ 9 5 1 3 19 10 +9 16
4 ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด 9 4 1 4 10 14 −4 13
5 อุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด 9 2 6 1 9 10 −1 12[a]
6 อุบลคิดส์ ซิตี้ 9 3 3 3 16 19 −3 12[a]
7 วิทยาลัยพิชญบัณฑิต 9 3 3 3 7 9 −2 12[a]
8 กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด 9 2 3 4 11 14 −3 9[b]
9 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 9 2 3 4 8 13 −5 9[b]
10 เอฟซี โคราช 9 0 1 8 5 20 −15 1
แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. ผลต่างประตูได้-เสีย 6. ประตูได้ 7. คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8. จับสลาก
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 ผลมินิลีกของอุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด (2 คะแนน, ผลต่างประตู 0, ผลต่างประตูได้-เสีย −1) ดีกว่าอุบลคิดส์ ซิตี้ (2 คะแนน, ผลต่างประตู 0, ผลต่างประตูได้-เสีย –3) และวิทยาลัยพิชญบัณฑิต (2 คะแนน, ผลต่างประตู 0, ประตูได้ 0)
  2. 2.0 2.1 กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ดและมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลมีผลเฮด-ทู-เฮดเสมอกัน: กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด 0–0 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล แต่กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ดมีผลต่างประตูได้เสียโดยรวมดีกว่า

อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

อ้างอิง: ไทยลีก
W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน KSU VUF PCB SKS BLC UBU UKC UPL FCK HCU
กาฬสินธุ์ ยูไนเต็ด 0–0 0–0 1–1 4–1 1–4
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 2–1 0–2 2–2 0–1
วิทยาลัยพิชญบัณฑิต 1–4 2–1 0–1 0–0 0–0
ศรีสะเกษ ซิตี้ 2–1 1–0 7–1 3–1 4–2
สุรนารี อาร์มี่ 2 1–0 4–1 2–1 1–1
อุดร บ้านจั่น ยูไนเต็ด 2–1 0–0 1–0 0–0
อุบลคิดส์ ซิตี้ 2–1 0–0 2–2 4–1
อุบล โปลี 4–0 4–0 1–1 4–2 6–0
เอฟซี โคราช 1–3 0–1 0–0 0–2 0–1
ไฮ-เทค ชัยภูมิ ยูไนเต็ด 0–1 1–0 1–2 2–4
ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ[แก้]