ข้ามไปเนื้อหา

ทะเลไอริช

พิกัด: 53°28′10″N 5°08′29″W / 53.469448°N 5.141419°W / 53.469448; -5.141419
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทะเลไอริช
ภาพดาวเทียม
ทะเลไอริชตั้งอยู่ในเกาะไอร์แลนด์
ทะเลไอริช
ทะเลไอริช
ขอบเขตและเมืองท่า: เมืองท่าสินค้าและผู้โดยสาร / เมืองท่าสินค้า
ที่ตั้งบริเตนและไอร์แลนด์
พิกัด53°28′10″N 5°08′29″W / 53.469448°N 5.141419°W / 53.469448; -5.141419
ชนิดทะเล
เปิดสู่มหาสมุทร/ทะเลทะเลเคลติก
ประเทศในลุ่มน้ำสหราชอาณาจักร; สาธารณรัฐไอร์แลนด์; ไอล์ออฟแมน
ช่วงกว้างที่สุด200 กิโลเมตร (120 ไมล์)
พื้นที่พื้นน้ำ46,007 km2 (17,763 sq mi)
ความลึกโดยเฉลี่ย80–275 เมตร (262–902 ฟุต)
ปริมาณน้ำ2,800 km3 (2.3×109 acre·ft)
เกาะแองเกิลซีย์และโฮลีไอแลนด์, ไอล์ออฟแมนและคาล์ฟออฟแมน, เกาะบาร์ดซีย์, วอลนีย์, แลมเบย์, ไอร์แลนส์อาย

ทะเลไอริช (อังกฤษ: Irish Sea)[a] บางครั้งเรียก ทะเลแมน หรือ ทะเลแมงซ์ (อังกฤษ: Mann Sea หรือ Manx Sea; เวลส์: Môr Manaw, ไอริช: Muir Meann[4] มานซ์: Mooir Vannin, แกลิกสกอต: Muir Mhanainn)[5][6][7] เป็นทะเลที่แยกเกาะไอร์แลนด์จากบริเตนใหญ่ ทางใต้ติดต่อกับทะเลเคลติกผ่านช่องแคบเซนต์จอร์จและไปยังภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตกของสกอตแลนด์[8] ส่วนทางตอนเหนือเชื่อมผ่านช่องแคบเหนือ แองเกิลซีย์เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดภายในทะเลไอริช ตามด้วยเกาะแมน

ชายฝั่งทางเหนือติดกับสกอตแลนด์ ทางตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเวลส์ และทางตะวันตกติดกับไอร์แลนด์เหนือและประเทศไอร์แลนด์ ทะเลไอริชมีความสำคัญในบริเวณที่ครอบคลุมทางด้านเศรษฐกิจทางการค้าขาย การขนส่งทางเรือ การคมนาคม การประมง และการสร้างพลังงานในรูปของกังหันลมและโรงงานนิวเคลียร์ การขนส่งผู้โดยสารระหว่างสองเกาะตกราว 12 ล้านคนต่อปี และสินค้าอีก 17 ล้านตันต่อปี[ต้องการอ้างอิง]

ประวัติ

[แก้]

ทะเลไอริชก่อตัวขึ้นในยุคนีโอจีน[9]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ไอริช: Muir Éireann [mˠɪɾʲ ˈeːɾʲən̪ˠ] หรือ An Mhuir Mheann [ənˠ wɪrʲ vʲan̪ˠ],[1] มานซ์: Y Keayn Yernagh,[2] สกอต: Erse Sie, แกลิกสกอต: Muir Èireann [murʲ ˈeːrʲən̪ˠ],[3] อัลสเตอร์-สกอต: Airish Sea, เวลส์: Môr Iwerddon [moːr ɪuˈɛrðɔn].

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Muir Éireann". téarma.ie – Dictionary of Irish Terms. Foras na Gaeilge and Dublin City University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2017. สืบค้นเมื่อ 18 November 2016.
  2. "Ellan Vannin" (ภาษามานซ์). Centre for Manx Studies ("Laare-Studeyrys Manninagh"). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2011. สืบค้นเมื่อ 8 July 2011.
  3. Cambridge Medieval Celtic Studies, Issues 33–35 University of Cambridge (Gran Bretaña). Department of Anglo-Saxon, Norse and Celtic 1997
  4. Electronic Dictionary of the Irish Language
  5. Bannerman, David Armitage (1963). The Birds of the British Isles: Volume 12. Edinburgh: Oliver and Boyd. p. 84. OCLC 725928669.
  6. "The Caledonian". The Caledonian. New York: Caledonian Publishing Co. 4: 25. 1903.
  7. "Irish Sea Facts". Irish Sea Conservation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 May 2011. สืบค้นเมื่อ 3 July 2011.
  8. "Limits of Oceans and Seas, 3rd edition + corrections" (PDF). International Hydrographic Organization. 1971. p. 42 [corrections to page 12]. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 October 2011. สืบค้นเมื่อ 28 December 2020.
  9. "DISCOVERING FOSSILS | How Great Britain formed". www.discoveringfossils.co.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2018. สืบค้นเมื่อ 12 August 2019.

ข้อมูลทั่วไป

[แก้]

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]