พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018

พิกัด: 37°40′03″N 128°42′20″E / 37.66750°N 128.70556°E / 37.66750; 128.70556
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018
คิม ยู-นา แชมป์สเก็ตลีลาโอลิมปิกชาวเกาหลีใต้จุดกระถางคบเพลิงโอลิมปิก
วันที่9 กุมภาพันธ์ 2018; 6 ปีก่อน (2018-02-09)
เวลา20:00 – 22:20 KST (UTC+9)
ที่ตั้งพย็องชัง ประเทศเกาหลีใต้
พิกัด37°40′03″N 128°42′20″E / 37.66750°N 128.70556°E / 37.66750; 128.70556
ชื่ออื่นPeace in Motion
ถ่ายทำโดยโอบีเอส ในนามของเอสบีเอส
ภาพยนตร์พิธีเปิดพย็องชัง 2018 ที่ยูทูบ

พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 กำหนดจัดขึ้นในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 เวลา 20.00 น. ตามเวลามาตรฐานเกาหลีสนามกีฬาโอลิมปิกพย็องชัง ซึ่งสร้างเพื่อจัดพิธีการในโอลิมปิกและพาราลิมปิกโดยเฉพาะ และจะรื้อถอนเมื่อการแข่งขันพาราลิมปิกเสร็จสิ้น ซึ่งมีมุน แจ-อิน ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ เป็นประธานในพิธี

การเตรียมการ[แก้]

คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ก่อสร้างสนามกีฬาโอลิมปิกพย็องชัง เป็นการเฉพาะสำหรับ โอลิมปิกฤดูหนาว 2018 ซึ่งสนามกีฬาโอลิมปิกมีลักษณะเป็นรูปห้าเหลี่ยม มีความจุ 35,000 ที่นั่ง ซึ่งที่มาของการเลือกรูปห้าเหลี่ยมนี้เกิดจากรูปร่างนี้เป็นรูปผสมระหว่างวงกลม สี่เหลี่ยมจัตุรัส และสามเหลี่ยม ซึ่งเป็นตัวแทนของสวรรค์ โลก และมนุษย์[1] โดยสนามแห่งนี้จะไม่จัดการแข่งขันในรายการใด ๆ เลย แต่จะจัดเฉพาะพิธีเปิด และพิธีปิดเท่านั้น

รายการ[แก้]

การเดินขบวนนักกีฬา[แก้]

การเดินขบวนนักกีฬาในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 จะเริ่มต้นขบวนนักกีฬาและเจ้าหน้าที่จากประเทศกรีซ ตามธรรมเนียมโอลิมปิก ต่อจากนั้นจะเป็นขบวนนักกีฬาจากประเทศต่าง ๆ อีก 90 ประเทศ โดยเรียงตามอักษรเกาหลี[2] และปิดท้ายด้วยขบวนนักกีฬาจากประเทศเกาหลี ซึ่งเป็นทีมที่รวมนักกีฬาจากประเทศเกาหลีใต้ และเกาหลีเหนือเข้าด้วยกัน โดยใช้ธงรวมเกาหลี เป็นธงประจำทีม[2]

ในการเดินขบวนนักกีฬาได้มีการเปิดเพลงประกอบต่าง ๆ เช่น ทำนองเพลง "Hand in Hand" ของวงโคเรียนา ซึ่งเป็นเพลงประจำการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 1988กรุงโซล, เพลง "คังนัมสไตล์" ของศิลปินไซ, เพลง "Likey" ของวงทไวซ์, เพลง "Fantastic Baby" ของวงบิกแบง , เพลง "DNA" ของวงบีทีเอส และเพลง "Red Flavor" ของวงเรดเวลเวต ซึ่งเป็นเพลงเดียวที่เล่นไม่จบ เนื่องจากขบวนนักกีฬารวมเกาหลีได้เข้าสู่สนาม โดยใช้เพลงอารีรัง[3]

ลำดับ ประเทศ ฮันกึล โรมัน นักกีฬา กีฬา
1 ประเทศกรีซ กรีซ (GRE) 그리스 geu ri seu โซเฟีย ราลลี สกีลงเขา
2 ประเทศกานา กานา (GHA) 가나 ga na แอควาซี ฟริมปง สเกเลตัน
3 ประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย (NGR) 나이지리아 na i ji ri a เอ็นโกซี ออนวูเมียร์ บอบสเล
4 ประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ (RSA) 남아프리카 공화국 nam a peu ri ka gong
hwa guk
คอนเนอร์ วิลสัน สกีลงเขา
5 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (NED) 네덜란드 ne deol ran deu ยาน ซเมเกนส์[4] สเกตความเร็ว
6 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR) 노르웨이 no reu we i เอมิล เฮกเลอ สเวนด์เซน ทวิกีฬา
7 ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (NZL) 뉴질랜드 nyu jil raen deu โบ-เจมส์ เวลส์[5] สกีลีลา
8 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก (DEN) 덴마크 den ma keu เอเลนา โมลเลอร์ ริกัส[6] สเกตความเร็ว
9 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER) 독일 dok il เอริค เฟรนเซิล[7] สกีผสม
10 ประเทศติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต (TLS)
(สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต)
동티모르 dong ti mo reu โยอัน กุต กงซัลเวส สกีลงเขา
11 ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย (LAT) 라트비아 ra teu bi a ดาวมันท์ส ดเรชเคนส์[8] บอบสเล
12 ประเทศเลบานอน เลบานอน (LBN) 레바논 re ba non ซาเมอร์ โทว์ค สกีข้ามทุ่ง
13 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย (ROU) 루마니아 ru ma ni a Marius Ungureanu[9] ทวิกีฬา
14 ประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก (LUX) 룩셈부르크 ruk sem bu reu keu แมทธิว ออช สกีลงเขา
15 ประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย (LTU) 리투아니아 ri tu a ni a โตมัส คูแคนัส[10] ทวิกีฬา
16 ประเทศลีชเทินชไตน์ ลีชเทินชไตน์ (LIE) 리히텐슈타인 ri hi ten syu ta in มาร์โค พฟิฟฟ์เนอร์ สกีลงเขา
17 ประเทศมาดากัสการ์ มาดากัสการ์ (MAD) 마다가스카르 ma da ga seu ka reu มียาลีทียานา แครค์ สกีลงเขา
18 ประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย (MAS) 말레이시아 mal re isi a จูเลี่ยน ยี[11] สเกตลีลา
19 ประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก (MEX) 멕시코 mek si ko เคร์มัน มาดราโซ[12] สกีข้ามทุ่ง
20 ประเทศโมนาโก โมนาโก (MON) 모나코 mo na ko รูดี รินัลดี[13] บอบสเล
21 ประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก (MAR) 모로코 mo ro ko ซามีร์ อัซซีมานี สกีข้ามทุ่ง
22 ประเทศมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร (MNE) 몬테네그로 mon te ne geu ro เยเลน่า วูยิชิช[14] สกีลงเขา
23 ประเทศมอลโดวา มอลโดวา (MDA)
(สาธารณรัฐมอลโดวา)
몰도바 mol do ba นิโคลาเอ ไกดูก สกีข้ามทุ่ง
24 ประเทศมอลตา มอลตา (MLT) 몰타 mol ta เอลีส แปลแกร็ง[15] สกีลงเขา
25 ประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย (MGL) 몽골 mong gol อัชบาดรัค บัตมุนค์[16] สกีข้ามทุ่ง
26 สหรัฐ สหรัฐ (USA)
(สหรัฐอเมริกา)
미국 mi guk เอริน แฮมลิน[17] ลุจ
27 ประเทศเบอร์มิวดา เบอร์มิวดา (BER) 버뮤다 beo myu da ทัคเกอร์ เมอร์ฟี่ สกีข้ามทุ่ง
28 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม (BEL) 벨기에 bel gi e เซปเป สมิทส์[18] สโนว์บอร์ด
29 สาธารณรัฐเบลารุส เบลารุส (BLR) 벨라루스 bel ra ru seu อัลลา ซูเปร์[19] สกีลีลา
30 ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (BIH) 보스니아 헤르체고비나 bo seu ni a he reu che go bi na Elvedina Muzaferija[20] สกีลงเขา
31 ประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย (BOL) 볼리비아 bol ri bi a ซีมอน ไบรท์ฟุสส์ คัมเมอร์ลันเดอร์[21] สกีลงเขา
32 ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย (BUL) 불가리아 bul ga ri a ราโดสลาฟ ยานคอฟ[22] สโนว์บอร์ด
33 ประเทศบราซิล บราซิล (BRA) 브라질 beu ra jil เอ็ดซอน บินดิลาททิ[23] บอบสเล
34 ประเทศซานมารีโน ซานมารีโน (SMR) 산마리노 san ma ri no อาเลสซันโดร มาริออตติ[24] สกีลงเขา
35 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย (SRB) 세르비아 se reu bi a เนเวนา อิกนยาโตวิช[25] สกีลงเขา
36 ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) 스웨덴 seu we den นิคลาส เอดีน[26] Curling
37 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 스위스 seu wi seu ดาริโอ โคโลญญา[27] สกีข้ามทุ่ง
38 ประเทศสเปน สเปน (ESP) 스페인 seu pe in ลูกัส เอกีบาร์ สโนว์บอร์ด
39 ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย (SVK) 슬로바키아 seul ro ba ki a เวโรนิกา เวเลซ-ซูซูโลวา สกีลงเขา
40 ประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย (SLO) 슬로베니아 seul ro be ni a เวสน่า ฟาบยาน[28] สกีข้ามทุ่ง
41 ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์ (SGP) 싱가포르 sing ga po reu เชเยนน์ โกห์ สเกตความเร็วระยะสั้น
42 ประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย (ARM) 아르메니아 a reu me ni a มิคาเยล มิคาเยเลียน สกีข้ามทุ่ง
43 ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (ARG) 아르헨티나 a reu hen ti na เซบาสเตียโน กัสตาลดี[15] สกีลงเขา
44 ประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ (ISL) 아이슬란드 a i seul ran deu เฟรย์ดิซ-ฮาทลา เอนาร์ซโตทีร์ สกีลงเขา
45 ประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ (IRL) 아일랜드 a il raen deu เชมัส โอ คอนเนอร์ สโนว์บอร์ด
46 ประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน (AZE) 아제르바이잔 a je reu bai jan พาทริค บราคเนอร์[29] สกีลงเขา
47 ประเทศอันดอร์รา อันดอร์รา (AND) 안도라 an do ra อีรีเนว เอสเตเบ อัลตีมีรัส[30] สกีข้ามทุ่ง
48 ประเทศแอลเบเนีย แอลเบเนีย (ALB) 알바니아 al ba ni a ซูเอลา เมอฮีลลี[31] สกีลงเขา
49 ประเทศเอริเทรีย เอริเทรีย (ERI) 에리트레아 e ri teu re a แชนนอน อ็อกบานี อาบีดา[32] สกีลงเขา
50 ประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย (EST) 에스토니아 e seu to ni a ซัสเคีย อาลูซาลู[33] สเกตความเร็ว
51 ประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ (ECU) 에콰도르 e kwa do reu เคลาส์ จุงบลุท[34] สกีข้ามทุ่ง
52 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) 영국 yeong guk ลิซซี่ ยาร์โนลด์[35] สเกเลตัน
53 ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (AUS) 오스트레일리아 o seu teu re il ri a สก็อตต์ เจมส์ สโนว์บอร์ด
54 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย (AUT) 오스트리아 o seu teu ri a อันนา ไฟท์[36] สกีลงเขา
55 นักกีฬาโอลิมปิกจากประเทศรัสเซีย นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย (OAR) 러시아 출신 올림픽 선수 reo si a chul sin ol lim pik seon su อาสามัคร N/A
56 ประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน (UZB) 우즈베키스탄 u jeu be ki seu tan คอมิลจอน ตุคห์ตาเอฟ สกีลงเขา
57 ประเทศยูเครน ยูเครน (UKR) 우크라이나 u keu ra i na โอเลน่า ปีดฮรูชน่า[37] ทวิกีฬา
58 ประเทศอิหร่าน อิหร่าน (IRI)
(สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน)
이란 i ran ซะเมาะเนฮ์ เบเราะมี เบาะเฮร์ สกีข้ามทุ่ง
59 ประเทศอิตาลี อิตาลี (ITA) 이탈리아 i tal ri a อาเรียนนา ฟอนตานา[38] สเกตความเร็วระยะสั้น
60 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล (ISR) 이스라엘 i seu ra el อเล็กซี บีเชนโก้[39] สเกตลีลา
61 ประเทศอินเดีย อินเดีย (IND) 인도 in do ชิว่า เคีชาแวน ลุจ
62 ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN) 일본 il bon โนริอากิ คาไซ[40][41] สกีกระโดดไกล
63 ประเทศจาเมกา จาเมกา (JAM) 자메이카 ja me i ka เจซมีน เฟนลาเตอร์ บอบสเล
64 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย (GEO) 조지아 jo ji a โมริส ควิเตลาชวิลี สเกตลีลา
65 ประเทศจีน จีน (CHN)
(สาธารณรัฐประชาชนจีน)
중국 jung guk หยาง โจว สเกตความเร็วระยะสั้น
66 ประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย (CZE) 체코 che ko เอวา ซัมโควา[42] สโนว์บอร์ด
67 ประเทศชิลี ชิลี (CHI) 칠레 chil re เฮนริก โฟน อัปเปน[43] สกีลงเขา
68 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน (KAZ) 카자흐스탄 ka ja heu seu tan อับซาล อัจกาลีเยฟ[44] สเกตความเร็วระยะสั้น
69 ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 캐나다 kae na da เทสซา เวอร์ทู และ สก็อตต์ โมเออร์[45] สเกตลีลา
70 ประเทศเคนยา เคนยา (KEN) 케냐 ke nya ซาบริน่า ซิมาเดอร์ สกีลงเขา
71 ประเทศคอซอวอ คอซอวอ (KOS) 코소보 ko so bo อัลบิน ตาฮิรี[46] สกีลงเขา
72 ประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย (COL) 콜롬비아 kol rom bi a เปโดร เกาซิล สเกตความเร็ว
73 ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย (CRO) 크로아티아 keu ro a ti a นัตโค เซิร์นชิช-ดิม[47] สกีลงเขา
74 ประเทศคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน (KGZ) 키르기스스탄 ki reu gi seu seu tan ตาเรียล จาร์คึมบาเอฟ สกีข้ามทุ่ง
75 ประเทศไซปรัส ไซปรัส (CYP) 키프로스 ki peu ro seu ดีนอส เลฟคาริติส สกีลงเขา
76 จีนไทเป จีนไทเป (TPE) 차이니스 타이베이 cha i ni seu ta i be i ลีน เท-แอน[48] ลุจ
77 ประเทศไทย ไทย (THA) 태국 tae guk มรรค จันเหลือง สกีข้ามทุ่ง[49]
78 ประเทศตุรกี ตุรกี (TUR) 터키 teo ki ฟาทีห์ อาร์ดา อิพชีโอลู สกีกระโดดไกล
79 ประเทศโตโก โตโก (TOG) 토고 to go มาตีลด์ อามีวี เปตีฌ็อง สกีข้ามทุ่ง
80 ประเทศตองงา ตองงา (TGA) 통가 tong ga พิต้า ทอฟาโทฟัว[15] สกีข้ามทุ่ง
81 ประเทศปากีสถาน ปากีสถาน (PAK) 파키스탄 pa ki seu tan มูฮัมมัด คาริม สกีลงเขา
82 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส (POR) 포르투갈 po reu tu gal แกเกวียน ลัม สกีข้ามทุ่ง[50]
83 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ (POL) 폴란드 pol ran deu ชบิกนีแยฟ บรุดกา[51] สเกตความเร็ว
84 ปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก (PUR) 푸에르토리코 pu e reu to ri ko ชาร์ล ฟลาเฮอร์ตี[15] สกีลงเขา
85 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA) 프랑스 peu rang seu มาร์แต็ง ฟูร์กาด[52] ทวิกีฬา
86 สาธารณรัฐมาซิโดเนีย มาซิโดเนีย (MKD)
(อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย)
구유고슬라비아 마케도니아 공화국 gu yu go seul ra bi a ma ke do ni a gong hwa guk สตาฟเร ยาดา[53] สกีข้ามทุ่ง
87 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) 핀란드 pin ran deu ยันเน อาโฮเนน[54] สกีกระโดดไกล
88 ประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ (PHI) 필리핀 pil ri pin อาซา มิลเลอร์[55] สกีลงเขา
89 ประเทศฮังการี ฮังการี (HUN) 헝가리 heong ga ri คอนราด เนกี้[56] สเกตความเร็ว
90  ฮ่องกง (HKG)
(ฮ่องกง, จีน)
홍콩 차이나 hong kong cha i na อราเบลลา แคโรไลน์ ยีลี อึง สกีลงเขา
91 ประเทศเกาหลี เกาหลี (COR) 코리아 ko ri a วอน ยูน-จอง[57] (เกาหลีใต้) บอบสเล
ชุง กึม ฮวัง[57] (เกาหลีเหนือ) ฮอกกี้น้ำแข็ง

บุคคลสำคัญที่เข้าร่วม[แก้]

ไมก์ เพนซ์, รองประธานาธิบดีสหรัฐ
คิม โย-ยอง, น้องสาวของคิม จ็อง-อึน

เพลงชาติ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Chappell, Bill (9 กุมภาพันธ์ 2018). "Winter Olympics Opening Ceremony: Pyeongchang Welcomes The World". NPR. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2018.
  2. 2.0 2.1 "Winter Olympics 2018 opening ceremony – live!". Guardian. 9 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  3. Kaufman, Gil (6 ธันวาคม 2017). "2018 Winter Olympics Kick Off With Korean Stars PSY & BTS During Opening Ceremonies". Billboard. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  4. "Smeekens draagt vlag bij openingsceremonie Winterspelen". NU.nl (ภาษาดัตช์). DPG Media. 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  5. "Beau-James Wells named New Zealand flag bearer for Winter Olympics opening ceremony". Stuff. 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  6. Wenande, Christain (10 มกราคม 2018). "Sports News in Brief: Danes a smash hit with UK footy fans". The Copenhagen Post. Copenhagen, Denmark. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2018.
  7. "Winter Olympics: Eric Frenzel to be Germany's flag bearer in opening ceremony". dw.com. Deutsche Welle. 7 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2018.
  8. "Bobsleigh powerhourse Dreiškens will carry Latvia's flag at Winter Olympics". lsm.lv. Latvian Public Broadcaster. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2018.
  9. Orban, Florian. "Olympic Preview". rri.ro. Radio România Internaţional. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2018.
  10. "Pjongčango olimpines žiemos žaidynes vyks 9 Lietuvos sportininkai" [9 Lithuanian athletes will be in Pyeongchang Olympic Winter Games]. www.delfi.lt (ภาษาลิทัวเนีย). Delfi. 19 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2018.
  11. "Olympic Council of Malaysia" (ภาษาอังกฤษ). Olympic Council of Malaysia. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2018 – โดยทาง เฟซบุ๊ก.
  12. Freud, Chris (21 มกราคม 2018). "Vail's Sarah Schleper gears up for fifth Olympics".
  13. "PyeongChang 2018 Olympic Games: presentation of Monaco's athletes". www.monacolife.net/. MonacoLife. 24 มกราคม 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 24 มกราคม 2018.
  14. "Crna Gora sa troje sportista u Pjongčangu". cok.me. Olympic Committee of Montenegro. 2 กุมภาพันธ์ 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  15. 15.0 15.1 15.2 15.3 "Numerous FIS athletes among Flag Bearers for Opening Ceremony". fis-ski.com. FIS. 7 กุมภาพันธ์ 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  16. ""Пёнчан-2018" - Баг тамирчдыг үдэн гаргах ёслол болов". Olympic Committee of Mongolia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  17. "Erin Hamlin named Team USA flag bearer for PyeongChang Opening Ceremony". nbcolympics.com. NBC Olympics. 8 กุมภาพันธ์ 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  18. Belga (24 มกราคม 2018). "Snowboarder Seppe Smits draagt Belgische vlag in Pyeongchang" [Snowboarder Seppe Smits carries the Belgian flag in Pyeongchang]. Metro (ภาษาดัตช์). Rossel & Cie. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2022.
  19. "Alla Tsuper named flag-bearer for Team Belarus in PyeongChang". belta.by (ภาษาอังกฤษ). Belarusian Telegraph Agency. 7 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  20. "Elvedina Muzaferija nosi zastavu BiH na otvaranju ZOI". OSLOBOĐENJE (ภาษาบอสเนีย). 30 มกราคม 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 กรกฎาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  21. "Bolivia asistirá a Juegos Olímpicos de Invierno" [Bolivia will attend the Winter Olympic Games]. www.elpaisonline.com/ (ภาษาสเปน). Boquerón Multimedia. 18 มกราคม 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 กรกฎาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2018.
  22. БОК утвърди делегацията за Олимпиадата в Пьончан (видео) [Bulgarian Olympic Committee confirmed the delegation for Pyeonchang Olympics]. БНТ СПОРТ (ภาษาบัลแกเรีย). Bulgarian National Television. 23 มกราคม 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2019. สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2018.
  23. Raphael Andriolo; Thierry Gozzer (5 กุมภาพันธ์ 2018). "Piloto do bobsled será o porta-bandeira do Brasil em PyeongChang" (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). Globo Comunicação e Participações.
  24. "Alessandro Mariotti pronto per le olimpiadi invernali: "È il sogno di ogni sportivo"". Sorpresa News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  25. "Nevena Ignjatović nosi srpsku zastavu u Pjongčangu". Radio Television of Serbia. 22 January 2018. สืบค้นเมื่อ 25 January 2018.
  26. "Niklas Edin svensk fanbärare vid OS-invigningen". svt.se. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2018.
  27. "Cologna wird die Schweizer Fahne tragen". srf.ch. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  28. "71 Slovenian athletes head to Pyeongchang". rtvslo.si. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  29. "Azerbaijan's flag-bearer in Winter Olympics named". Report Information Agency. Baku, Azerbaijan. 22 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2018.
  30. "Irineu Esteve serà el banderer als Jocs Olímpics de PyeongChang". Diari d'Andorra. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  31. "Shqipëria me 2 sportistë në Olimpiadën dimërore "Pyeongchang 2018"". telesport.al. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  32. Phillips, Curtis J. (3 มกราคม 2018). "McMurray-born skiier first to represent Eritrea at Winter Olympics". Fort McMurray Today. Fort McMurray, Alberta, Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2018.
  33. "Eesti lipukandja PyeongChangi olümpia avatseremoonial on Saskia Alusalu". ERR. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2018.
  34. Rodriguez, Ana (19 มกราคม 2018). "Klaus Jungbluth será el abanderado en los Juegos Olímpicos de Invierno 2018" [Klaus Jungbluth will be the flag bearer at the ฤดูหนาว 2018 Olympics]. www.pichinchauniversal.com.ec/ (ภาษาสเปน). Pichincha Universal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2018.
  35. Hope, Nick (8 กุมภาพันธ์ 2018). "Winter Olympics 2018: Lizzy Yarnold named Team GB flagbearer". Pyeongchang, South Korea. BBC. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  36. "Austria to send 105 athletes to Pyeongchang Olympics". Associated Press. New York City, New York, United States. 22 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2018.
  37. Олена Підгрушна – прапороносець України на відкритті зимових Олімпійських ігор в Пхьончхані (ВІДЕО) [Olena Pidhrushna is the flag bearer of Ukraine at the opening of the Winter Olympic Games in PyeongChang (VIDEO)] (ภาษายูเครน). НОК УКРАЇНИ. 7 กุมภาพันธ์ 2018.
  38. "Olympics: Fontana to be flag carrier". ansa.it. Agenzia Nazionale Stampa Associata (ANSA). 20 ตุลาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2017.
  39. "ישראל ספורט - אלכסיי ביצ'נקו יישא את דגל ישראל בטקס הפתיחה". ישראל ספורט. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2018. (ในภาษาฮีบรู).
  40. "JOC selects speedskater Nao Kodaira as team captain for Pyeongchang Olympics". The Japan Times. Tokyo and Osaka, Japan. 16 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2018.
  41. "Olympics: Athletes gather for Winter Olympics inauguration ceremony". The Mainichi. Tokyo, Japan. 24 มกราคม 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2018.
  42. "Pocta pro Samkovou! Obhájkyně zlata ponese českou vlajku na zahájení ZOH". iSport.cz (ภาษาเช็ก). สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2018.
  43. "Henrik von Appen será el abanderado chileno en los Juegos Olímpicos de Invierno". coooperativa.cl. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  44. "Abzal Azhgaliyev to be Kazakhstan flag bearer at PyeongChang 2018 Olympics". Kazinform. Astana, Kazakhstan. 9 มกราคม 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 กันยายน 2020. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2018.
  45. Nichols, Paula (16 มกราคม 2018). "Virtue & Moir to lead Team Canada as PyeongChang 2018 flag bearers". olympic.ca. Canadian Olympic Committee. สืบค้นเมื่อ 16 มกราคม 2018.
  46. "Ja me sa garues do të përfaqësohet Kosova në Olimpiadën Dimërore". portalionline.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 ตุลาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  47. "Winter Olympics 2018: Croatia Selects Flag Bearer for 20-Strong Team". croatiaweek.com. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  48. DeAeth, Duncan. "Taiwanese Olympic athletes headed to Pyeongchang, South Korea". taiwannews.com.tw. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2018.
  49. ""มรรค"สกีหนุ่มลูกครึ่งไทย-อิตาเลี่ยนถือธงไตรรงค์เปิดโอลิมปิกฤดูหนาว". ข่าวสด. 9 กุมภาพันธ์ 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 กรกฎาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2018.
  50. "PyeongChang'2018: Kequyen Lam é o porta-estandarte português na cerimónia de abertura". Record (ภาษาโปรตุเกสแบบยุโรป). Cofina Media. 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  51. Media, Wirtualna Polska (23 มกราคม 2018). "Zbigniew Bródka chorążym reprezentacji Polski na igrzyskach olimpijskich - WP SportoweFakty". sportowefakty.wp.pl (ภาษาโปแลนด์). สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2018.
  52. Winters, Max (28 กันยายน 2017). "Double Olympic champion named as France's Pyeongchang 2018 flag bearer". Insidethegames.biz. Dunsar Media. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2017.
  53. "МОК ги испрати олимпијците кон Пјонгчанг". สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2018.
  54. "Janne Ahonen kantaa Suomen lippua avajaisissa" (ภาษาฟินแลนด์). Iltalehti. สืบค้นเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2018.
  55. "Athlete Profile: Asa Miller". Pyeongchang 2018 Olympic Winter Games. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  56. "Nagy Konrád a magyar zászlóvivő a phjongcshangi megnyitón" (ภาษาฮังการี). Magyar Olimpiai Bizottság. 7 กุมภาพันธ์ 2018.
  57. 57.0 57.1 "Olympics' most powerful moment". NewsComAu. 10 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  58. "Governor General to attend Olympics in PyeongChang". CBC News. CBC/Radio-Canada. 28 มกราคม 2018.
  59. "SOUTH KOREA-CHINA-HAN ZHENG-WINTER OLYMPICS-OPENING CEREMONY". 9 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018.
  60. "Korea-Estonia summit to help launch peace through Olympics". Korea.net. 7 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018. President Moon Jae-in held a meeting with President Kersti Kaljulaid of Estonia who is on a visit to Korea to attend the PyeongChang 2018 Olympic and Paralympic Winter Games.
  61. "Presidente de Alemania apoya diálogo entre Coreas" (ภาษาสเปน). Deutsche Welle. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018.
  62. "Mandatarios de Japón y Corea del Sur acuerdan continuar ejerciendo presión sobre Corea del Norte" (ภาษาสเปน). NHK World. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018. Abe y Moon sostuvieron una reunión de aproximadamente una hora en un hotel cerca del Estadio Olímpico de Pyeongchang antes de asistir el viernes a la ceremonia de apertura de los Juegos Olímpicos de Invierno.
  63. "Lío de protocolo ante la inauguración de los juegos de invierno de Pyeongchang" (ภาษาสเปน). La Vanguardia. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018.
  64. "The President attends the opening ceremony of Winter Olympics". President of the Republic of Lithuania. 9 กุมภาพันธ์ 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018.
  65. "Grand Duke Henri to Attend Winter Olympics". Chronicle.lu. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018.
  66. "Prince Albert II at Winter Olympics in PyeongChang and other princely news". Hello Monaco (ภาษาอังกฤษ). 19 กุมภาพันธ์ 2018.
  67. "Koningspaar en premier Rutte bij openingsceremonie Pyeongchang" (ภาษาดัตช์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2018.
  68. Talmadge, Eric (9 กุมภาพันธ์ 2018). "At Olympic Games, Kim Jong Un's sister takes VIP seat". ABC News. AP. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2018.
  69. "Szczerski o rozmowie Dudy z wiceprezydentem USA: od razu wiadomo, że się odbędzie" (ภาษาโปแลนด์). TVN24. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  70. "JO 2018: Alain Berset à Pyeongchang pour affirmer la présence de la Suisse" (ภาษาฝรั่งเศส). La Côte. 10 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018.
  71. 美펜스, 올림픽대표단 끌고 평창行..이방카 참석은 '미정'. 이데일리. 10 มกราคม 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2018.
  72. "Guterres se reunió con el líder norcoreano Kim Yong-nam" (ภาษาสเปน). Deutsche Welle. 10 กุมภาพันธ์ 2018. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2018. El secretario general de la ONU, Antonio Guterres, se encontró con el presidente nominal de Corea del Norte, Kim Yong-nam, en el marco de la inauguración de los Juegos Olímpicos de invierno en Pyeongchang.
  73. 73.0 73.1 Garcia, Maira (10 กุมภาพันธ์ 2018). "Who Were the Singers at the Opening Ceremony of the Winter Olympics?". nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]