ประธานสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประธานสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
President of the United Nation
General Assembly

Président de l'Assemblée générale
des Nations unies
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
เดนนิส ฟรานซิส

ตั้งแต่ 5 กันยายน ค.ศ. 2023
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
สมาชิกของสมัชชาใหญ่
จวนสำนักงานใหญ่สหประชาชาติ
ที่ว่าการนครนิวยอร์ก สหรัฐ
ผู้แต่งตั้งสมัชชาใหญ่
วาระ1 ปี
ตราสารจัดตั้งกฎบัตรสหประชาชาติ
ผู้ประเดิมตำแหน่งปอล-อ็องรี สปัก
สถาปนา31 มีนาคม ค.ศ. 1946
เว็บไซต์un.org

ประธานสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (อังกฤษ: President of the United Nations General Assembly) เป็นตำแหน่งที่ได้รับการลงมติโดยผู้แทนของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (UNGA) เป็นประจำทุกปี และเป็นตำแหน่งสูงสุดในสมัชชาใหญ่

การเลือกตั้ง[แก้]

แผนที่โลกแสดงประเทศภูมิลำเนาของประธานสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติจนถึงสมัยประชุมสมัชชาครั้งที่ 72 ในปี 2017-2018 พร้อมข้อมูลรัฐสมาชิกในอดีต

การประชุมสมัชชาจะมีกำหนดจัดขึ้นทุกปีโดยเริ่มในเดือนกันยายน การประชุมสมัชชาพิเศษหรือกรณีฉุกเฉินใด ๆ ในปีถัดไปจะอยู่ภายใต้การนำของประธานสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

ตำแหน่งประธานจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันทุกปีระหว่างกลุ่มภูมิภาคทั้ง 5 กลุ่ม ได้แก่ แอฟริกา เอเชีย-แปซิฟิก ยุโรปตะวันออก ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน และ ยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ [1]

เนื่องจากสถานะที่มีอำนาจของทุกประเทศทั่วโลก ประเทศที่ใหญ่ที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดบางประเทศจึงไม่เคยดำรงตำแหน่งประธานสมัชชาใหญ่ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นเรื่องปกติที่ไม่มีสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่เคยดำรงตำแหน่งประธานสมัชชาใหญ่

มีประเทศสมัยใหม่ไม่กี่ประเทศที่ได้รับเลือกให้เป็นประธานสมัชชาใหญ่ถึง 2 ครั้ง ได้แก่ อาร์เจนตินา ชิลี เอกวาดอร์ ฮังการี และไนจีเรีย ส่วนรัฐสมาชิกอื่น ๆ ทั้งหมดมีตัวแทนเพียงครั้งเดียวโดยคนชาติของตนที่ดำรงตำแหน่งนี้ และเยอรมนีมีชาติที่ได้รับเลือกครั้งหนึ่งในฐานะสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และอีกครั้งในฐานะสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน ไม่รวมถึงการประชุมพิเศษและฉุกเฉินของสมัชชาใหญ่

รายชื่อประธาน[แก้]

ปีที่ได้รับการเลือกตั้ง รูปภาพ ชื่อประธาน[2]
(เกิด–เสียชีวิต)
รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ภูมิภาค สมัยประชุม
1946 Paul-Henri Spaak
(1889–1972)
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม WES สมัยแรก
1947 Oswaldo Aranha
(1894–1960)
 บราซิล LAS สมัยพิเศษแรก
สมัยที่ 2
1948 José Arce
(1881–1968)
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา LAS สมัยที่ 2
1948 Herbert Vere Evatt
(1894–1965)
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย COS สมัยที่ 3
1949 Carlos P. Romulo
(1898–1985)
 ฟิลิปปินส์ EAS สมัยที่ 4, ประธานจากเอเชียคนแรก
1950 Nasrollah Entezam
(1900–1980)
 อิหร่าน EAS สมัยที่ 5
1951 Luis Padilla Nervo
(1894–1985)
 เม็กซิโก LAS สมัยที่ 6
1952 Lester B. Pearson
(1897–1972)
 แคนาดา COS สมัยที่ 7
1953 Vijaya Lakshmi Pandit
(1900–1990)
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย COS สมัยที่ 8, ประธานผู้หญิงคนแรก
1954 Eelco van Kleffens
(1894–1983)
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ WES สมัยที่ 9
1955 José Maza Fernández
(1889–1964)
ธงของประเทศชิลี ชิลี LAS สมัยที่ 10
1956 Rudecindo Ortega (es)
(1896–1962)
ธงของประเทศชิลี ชิลี LAS สมัยพิเศษฉุกเฉินแรก
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 2
1956 พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์
(1891–1976)
 ไทย EAS สมัยที่ 11
1957 Leslie Munro
(1901–1974)
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ COS สมัยที่ 12
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 3
1958 Charles Malik
(1906–1987)
 เลบานอน MES สมัยที่ 13
1959 Víctor Andrés Belaúnde
(1893–1966)
ธงของประเทศเปรู เปรู LAS สมัยที่ 14
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 4
1960 Frederick Boland
(1904–1985)
ธงของประเทศไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ WES สมัยที่ 15
สมัยพิเศษที่ 3
1961 Mongi Slim
(1908–1969)
 ตูนิเซีย MES สมัยที่ 16, ประธานจากแอฟริกาคนแรก
1962 Muhammad Zafarullah Khan
(1893–1985)
ธงของประเทศปากีสถาน ปากีสถาน COS สมัยที่ 17
สมัยพิเศษที่ 4
1963 Carlos Sosa Rodríguez (es)
(1912–1997)
 เวเนซุเอลา LAS สมัยที่ 18
1964 Alex Quaison-Sackey
(1924–1992)
 กานา COS สมัยที่ 19
1965 Amintore Fanfani

(1908–1999)
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี WES สมัยที่ 20
1966 Abdul Rahman Pazhwak
(1919–1995)
 อัฟกานิสถาน เอเชีย สมัยที่ 21
สมัยพิเศษที่ 5
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 5
1967 Corneliu Mănescu
(1916–2000)
 โรมาเนีย EEG สมัยที่ 22
1968 Emilio Arenales Catalán
(1922–1969)
ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา GRULAC สมัยที่ 23
1969 Angie Brooks
(1928–2007)
ธงของประเทศไลบีเรีย ไลบีเรีย แอฟริกา สมัยที่ 24
1970 Edvard Hambro
(1911–1977)
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ WEOG สมัยที่ 25
1971 Adam Malik
(1917–1984)
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เอเชีย สมัยที่ 26
1972 Stanisław Trepczyński
(1924–2002)
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ EEG สมัยที่ 27
1973 Leopoldo Benites
(1905–1996)
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ GRULAC สมัยที่ 28
สมัยพิเศษที่ 6
1974 Abdelaziz Bouteflika
(1937–2021)
ธงของประเทศแอลจีเรีย แอลจีเรีย แอฟริกา สมัยที่ 29
สมัยพิเศษที่ 7
1975 Gaston Thorn
(1928–2007)
ธงของประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก WEOG สมัยที่ 30
1976 Hamilton Shirley Amerasinghe
(1913–1980)
 ศรีลังกา เอเชีย สมัยที่ 31
1977 Lazar Mojsov
(1920–2011)
 ยูโกสลาเวีย EEG สมัยที่ 32
สมัยพิเศษที่ 8
สมัยพิเศษที่ 9
สมัยพิเศษที่ 10
1978 Indalecio Liévano
(1917–1982)
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย GRULAC สมัยที่ 33
1979 Salim Ahmed Salim
(เกิดเมื่อปี 1942)
 แทนซาเนีย แอฟริกา สมัยที่ 34
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 6
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 7
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 11
1980 Rüdiger von Wechmar
(1923–2007)
 เยอรมนีตะวันตก WEOG สมัยที่ 35
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 8
1981 Ismat T. Kittani
(1929–2001)
 อิรัก เอเชีย สมัยที่ 36
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 7ต่อเนื่อง
สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 9
สมัยพิเศษที่ 12
1982 Imre Hollai
(1925–2017)
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี EEG สมัยที่ 37
1983 Jorge Illueca
(1918–2012)
ธงของประเทศปานามา ปานามา GRULAC สมัยที่ 38
1984 Paul J. F. Lusaka
(1935–1996)
 แซมเบีย แอฟริกา สมัยที่ 39
1985 Jaime de Piniés
(1917–2003)
ธงของประเทศสเปน สเปน WEOG สมัยที่ 40
สมัยพิเศษที่ 13
1986 Humayun Rashid Choudhury
(1928–2001)
ธงของประเทศบังกลาเทศ บังกลาเทศ เอเชีย สมัยที่ 41
สมัยพิเศษที่ 14
1987 Peter Florin
(1921–2014)
 เยอรมนีตะวันออก EEG สมัยที่ 42
สมัยพิเศษที่ 15
1988 Dante Caputo
(1943–2018)
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา GRULAC สมัยที่ 43
1989 Joseph Nanven Garba
(1943–2002)
ธงของประเทศไนจีเรีย ไนจีเรีย แอฟริกา สมัยที่ 44
สมัยพิเศษที่ 16
สมัยพิเศษที่ 17
สมัยพิเศษที่ 18
1990 Guido de Marco
(1931–2010)
ธงของประเทศมอลตา มอลตา WEOG Forty-fifth
1991 Samir Shihabi
(1925–2010)
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย เอเชีย Forty-sixth
1992 Stoyan Ganev
(1955–2013)
ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย EEG Forty-seventh
1993 Rudy Insanally
(เกิดเมื่อปี 1936)
ธงของประเทศกายอานา กายอานา GRULAC Forty-eighth
1994 Amara Essy
(เกิดเมื่อปี 1944)
 โกตดิวัวร์ แอฟริกา Forty-ninth
1995 Diogo de Freitas do Amaral
(1941–2019)
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส WEOG Fiftieth
1996 Razali Ismail
(เกิดเมื่อปี 1939)
ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย เอเชีย Fifty-first

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10

Nineteenth special
1997 Hennadiy Udovenko
(1931–2013)
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน EEG Fifty-second

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง

Twentieth special
1998 Didier Opertti
(เกิดเมื่อปี 1937)
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย GRULAC Fifty-third

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง

Twenty-first special
1999 Theo-Ben Gurirab
(1938–2018)
ธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย แอฟริกา Fifty-fourth

Twenty-second special

Twenty-third special

Twenty-fourth special
2000 Harri Holkeri
(1937–2011)
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ WEOG Fifty-fifth

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง

Twenty-fifth special

Twenty-sixth special
2001 Han Seung-soo
(เกิดเมื่อปี 1936)
 เกาหลีใต้ เอเชีย Fifty-sixth

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง

Twenty-seventh special
2002 Jan Kavan
(เกิดเมื่อปี 1946)
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย EEG Fifty-seventh

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง
2003 Julian Hunte
(เกิดเมื่อปี 1940)
 เซนต์ลูเชีย GRULAC Fifty-eighth

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง
2004 Jean Ping
(เกิดเมื่อปี 1942)
ธงของประเทศกาบอง กาบอง แอฟริกา Fifty-ninth

Twenty-eighth special
2005 Jan Eliasson
(เกิดเมื่อปี 1940)
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน WEOG Sixtieth
2006 Haya Rashed Al-Khalifa
(เกิดเมื่อปี 1952)
ธงของประเทศบาห์เรน บาห์เรน เอเชีย Sixty-first

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง
2007 Srgjan Kerim
(เกิดเมื่อปี 1948)
 มาซิโดเนียเหนือ EEG Sixty-second
2008 Miguel d'Escoto Brockmann
(1933–2017)
ธงของประเทศนิการากัว นิการากัว GRULAC Sixty-third
2009 Ali Treki
(1937–2015)
 ลิเบีย แอฟริกา Sixty-fourth
2010 Joseph Deiss
(เกิดเมื่อปี 1946)
 สวิตเซอร์แลนด์ WEOG Sixty-fifth
2011 Nassir Al-Nasser[3]
(เกิดเมื่อปี 1952)
 กาตาร์ เอเชีย-แปซิฟิก Sixty-sixth
2012 Vuk Jeremić
(เกิดเมื่อปี 1975)
 เซอร์เบีย EEG Sixty-seventh (election)
2013 John William Ashe
(1954–2016)
 แอนทีกาและบาร์บิวดา GRULAC Sixty-eighth
2014 Sam Kutesa
(เกิดเมื่อปี 1949)
 ยูกันดา แอฟริกา Sixty-ninth

Twenty-ninth special
2015 Mogens Lykketoft
(เกิดเมื่อปี 1946)
 เดนมาร์ก WEOG Seventieth

Thirtieth special
2016 Peter Thomson
(เกิดเมื่อปี 1948)
 ฟีจี เอเชีย-แปซิฟิก Seventy-first (election)
2017 Miroslav Lajčák
(เกิดเมื่อปี 1963)
 สโลวาเกีย EEG Seventy-second

สมัยพิเศษฉุกเฉินที่ 10—ต่อเนื่อง
2018 María Fernanda Espinosa
(เกิดเมื่อปี 1964)
 เอกวาดอร์ GRULAC Seventy-third
2019 Tijjani Muhammad-Bande
(เกิดเมื่อปี 1957)
 ไนจีเรีย แอฟริกา Seventy-fourth
2020 Volkan Bozkır
(เกิดเมื่อปี 1950)
 ตุรกี WEOG Seventy-fifth
2021 Abdulla Shahid
(เกิดเมื่อปี 1962)
 มัลดีฟส์ เอเชีย-แปซิฟิก Seventy-sixth

Eleventh emergency special
2022 ซาบา โคโรซี
(เกิดเมื่อปี 1958)
 ฮังการี EEG Seventy-seventh
2023 Dennis Francis

(เกิดเมื่อปี 1956)
 ตรินิแดดและโตเบโก GRULAC Seventy-eighth

ตัวย่อ[แก้]

ก่อนปี 1966
ตั้งแต่ปี 1966

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "About the General Assembly" [เกี่ยวกับสมัชชาใหญ่]. สหประชาชาติ (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-03-07.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. "Past Presidents" [อดีตประธาน]. สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-03-07.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  3. "Nassir Abdulaziz Al-Nasser of Qatar Elected President of General Assembly's Sixty-Sixth Session; Vice-Presidents, Main Committee Chairs Also Named" [Nassir Abdulaziz Al-Nasser จากกาตาร์ได้รับเลือกเป็นประธานสมัชชาสมัยที่ 66; รองประธาน, ประธานคณะกรรมการหลักได้รับการเสนอชื่อด้วย]. สหประชาชาติ (ภาษาอังกฤษ). 2011-06-22. สืบค้นเมื่อ 7 March 2022.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. "Asian Group of Nations at UN Changes Its Name to Asia-Pacific Group". Radio New Zealand. 1 September 2011. สืบค้นเมื่อ 7 March 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]