หนังสือเลวีนิติ
ส่วนหนึ่งของ |
ศาสนาคริสต์ |
---|
สถานีย่อย |
หนังสือเลวีนิติ (อังกฤษ: Book of Leviticus, /lɪˈvɪtɪkəs/, จากภาษากรีกโบราณ: Λευιτικόν, Leuïtikón; ฮีบรู: וַיִּקְרָא, Wayyiqrāʾ, 'และพระองค์ทรงเรียก'; ละติน: Liber Leviticus) เป็นหนังสือเล่มที่ 3 ของคัมภีร์โทราห์ (เบญจบรรณ) และของพันธสัญญาเดิม มีอีกคำเรียกว่า หนังสือเล่มที่สามของโมเสส (Third Book of Moses)[1] สมมติฐานหลายข้อที่นำเสนอโดยนักวิชาการเกี่ยวกับต้นกำเนิดของหนังสือเลวีนิติเห็นพ้องต้องกันว่าหนังสือเลวีนิติได้รับการพัฒนามาเป็นเวลายาวนาน โดยมาถึงรูปแบบปัจจุบันในช่วงยุคเปอร์เซียระหว่าง 538 ถึง 332 ปีก่อนคริสตกาล แม้ว่าจะยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ก็ตาม
บทส่วนใหญ่ของหนังสือเลวีนิติ (บทที่ 1–7, 11–27) ประกอบด้วยพระดำรัสของพระยาห์เวห์ต่อโมเสสซึ่งทรงตรัสให้โมเสสนำไปกล่าวซ้ำต่อชาวอิสราเอล เรื่องราวนี้เกิดขึ้นภายในเรื่องราวการอพยพของชาวอิสราเอลหลังการหนีจากอียิปต์และมาถึงภูเขาซีนาย (อพยพ 19:1) หนังสืออพยพเล่าเรื่องที่โมเสสนำชาวอิสราเอลในการสร้างพลับพลา (อพยพ 35-40) ตามรับสั่งของพระเจ้า (อพยพ 25-31) ในหนังสือเลวีนิติ พระเจ้าตรัสบอกกับชาวอิสราเอลและปุโรหิตอาโรนกับบุตรชายถึงวิธีการถวายเครื่องบูชาในพลับพลา และวิธีการปฏิบัติตนขณะตั้งค่ายโดยรอบพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ของเต็นท์ เรื่องราวในหนังสือเลวีนิติเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งเดือนหรือหนึ่งเดือนครึ่งระหว่างที่สร้างพลับพลาจนเสร็จ (อพยพ 40:17) และชาวอิสราเอลเดินทางออกจากบริเวณภูเขาซีนาย (กันดารวิถี 1:1, 10:11)
ชื่อ
[แก้]ชื่อเลวีนิติ (Leviticus) มาจากภาษาละติน Leviticus ซึ่งมาจากภาษากรีกโบราณ: Λευιτικόν[2] (Leuitikon) ซึ่งหมายถึง 'เผ่าเลวี' เผ่าปุโรหิตของชาวอิสราเอล วลีในภาษากรีกเป็นรูปที่แตกต่างจากในภาษาฮีบรูว่า torat kohanim[3] 'กฎหมายของปุโรหิต' จากการที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎหมายหลายข้อที่เกี่ยวข้องกับปุโรหิต[4]
ในภาษาฮีบรูเรียกหนังสือเลวีนิติว่า Vayikra (ฮีบรู: וַיִּקְרָא) มาจากวลีเปิดของหนังสือว่า va-yikra "และพระองค์ [พระเจ้า] ทรงเรียก"[3]
โครงสร้าง
[แก้]โครงสร้างของเนื้อหาหนังสือเลวีนิติจากคำอธิบายต่าง ๆ มีความคล้ายกัน แม้ไม่เหมือนกันเสียทีเดียว เปรียบเทียบจาก Wenham, Hartley, Milgrom และ Watts[5][6][7][8]
- กฏการบูชา (บทที่ 1:1–7:38)
- ข้อปฏิบัติสำหรับฆราวาสในการถวายเครื่องบูชา (1:1–6:7)
- ประเภทของเครื่องบูชา: เครื่องบูชาเผาทั้งตัว, ธัญบูชา, ศานติบูชา, เครื่องบูชาลบล้างบาป, เครื่องบูชาชดใช้บาป (บทที่ 1–5)
- ข้อปฏิบัติสำหรับปุโรหิต (6:1–7:38)
- เครื่องบูชาแบบต่าง ๆ เสริมด้วยธัญบูชาของปุโรหิต (6:1–7:36)
- สรุป (7:37–38)
- ข้อปฏิบัติสำหรับฆราวาสในการถวายเครื่องบูชา (1:1–6:7)
- พิธีสถาปนาปุโรหิต (8:1–10:20)
- การแต่งตั้งอาโรนและบุตรชาย (บทที่ 8)
- อาโรนบูชาครั้งแรก (บทที่ 9)
- การพิพากษานาดับและอาบีฮู (บทที่ 10)
- มลทินและการชำระ (11:1–15:33)
- เนื้อสัตว์ที่เป็นมลทิน (บทที่ 11)
- เด็กแรกคลอดในฐานะที่มาของมลทิน (บทที่ 12)
- โรคมลทิน (บทที่ 13)
- การชำระโรค (บทที่ 14)
- สิ่งที่ไหลออกจากร่างกายที่เป็นมลทิน (บทที่ 15)
- วันลบมลทิน: การชำระพลับพลาจากผลของมลทินและบาป (บทที่ 16)
- บัญญัติความศักดิ์สิทธิ์ในทางปฏิบัติ (ประมวลกฎหมายศักดิ์สิทธิ์, บทที่ 17–26)
- การบูชาและอาหาร (บทที่ 17)
- เพศสัมพันธ์ (บทที่ 18)
- ความเป็นเพื่อนบ้าน (บทที่ 19)
- อาชญากรรมร้ายแรง (บทที่ 20)
- กฎสำหรับปุโรหิต (บทที่ 21)
- กฏสำหรับการรับประทานของถวาย (บทที่ 22)
- เทศกาล (บทที่ 23)
- กฎสำหรับพลับพลา (บทที่ 24:1–9)
- โทษของการเหยียดหยามพระนาม (บทที่ 24:10–23)
- ปีสะบาโตและปีอิสรภาพ (บทที่ 25)
- คำเตือนให้เคารพกฎ: คำอวยพรและคำแช่ง (บทที่ 26)
- การไถ่ของถวาย (บทที่ 27)
ดูเพิ่ม
[แก้]- ระฆังเสรีภาพ - จารึกข้อความจากหนังสือเลวีนิติ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The Third Book of Moses, Called Leviticus". The Bible: Authorized King James Version. Oxford Biblical Studies Online, Oxford University Press. สืบค้นเมื่อ 5 September 2021.
- ↑ Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 16 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 515.
- ↑ 3.0 3.1 Berlin & Brettler 2014, p. 193.
- ↑ Hezekiah ben Manoah (Chizkuni), closing notes to Leviticus
- ↑ Wenham, pp. 3–4
- ↑ Hartley, pp. vii–viii
- ↑ Milgrom (1991), pp. v–x
- ↑ Watts (2013), pp. 12–20
บรรณานุกรม
[แก้]คำแปลของหนังสือเลวีนิติ
[แก้]- Leviticus at Bible gateway
คำอธิบายของหนังสือเลวีนิติ
[แก้]- Balentine, Samuel E (2002). Leviticus. Westminster John Knox Press. ISBN 978-0-664-23735-6.
- Bamberger, Bernard Jacob The Torah: A Modern Commentary (1981), ISBN 978-0-8074-0055-5
- Gerstenberger, Erhard S (1996). Leviticus: A Commentary. Westminster John Knox Press. ISBN 978-0-664-22673-2.
- Gorman, Frank H (1997). Divine Presence and Community: A Commentary on the Book of Leviticus. Eerdmans. ISBN 978-0-8028-0110-4.
- Grabbe, Lester (1998). "Leviticus". ใน John Barton (บ.ก.). Oxford Bible Commentary. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-875500-5.
- Hartley, John E. (1992). Leviticus. Word. ISBN 978-0-8499-0203-1.
- Houston, Walter J. (2003). "Leviticus". ใน James D. G. Dunn, John William Rogerson (บ.ก.). Eerdmans Bible Commentary. Eerdmans. ISBN 978-0-8028-3711-0.
- Kleinig, John W (2004). Leviticus. Concordia Publishing House. ISBN 978-0-570-06317-9.
- Levine, Baruch A. (1989). JPS Torah Commentary: Leviticus. Jewish Publication Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2016. สืบค้นเมื่อ 7 July 2014.
- Milgrom, Jacob (1998–2001). Leviticus 1–16, Leviticus 17–22, Leviticus 23–27. New Haven: Yale.
- Milgrom, Jacob (2004). Leviticus: A Book of Ritual and Ethics. Minneapolis: Fortress. ISBN 978-1-4514-1015-0.
- Watts, James W. (2013). Leviticus 1–10. Leuven: Peeters. ISBN 978-90-429-2984-5.
- Wenham, Gordon (1979). The Book of Leviticus. Eerdmans. ISBN 978-0-8028-2522-3.
ทั่วไป
[แก้]- Balentine, Samuel E (1999). The Torah's Vision of Worship. Fortress Press. ISBN 978-1-4514-1808-8.
- Bandstra, Barry L (2004). Reading the Old Testament: An Introduction to the Hebrew Bible. Wadsworth. ISBN 978-0-495-39105-0.
- Berlin, Adele; Brettler, Marc Zvi (2014). Jewish Study Bible (2 Rev ed. (November 2014) ed.). [S.l.]: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-997846-5.
- Brueggemann, Walter (2002). Reverberations of Faith: A Theological Handbook of Old Testament Themes. Westminster John Knox. ISBN 978-0-664-22231-4.
- Campbell, Antony F; O'Brien, Mark A (1993). Sources of the Pentateuch: Texts, Introductions, Annotations. Fortress Press. ISBN 978-1-4514-1367-0.
- Clines, David A (1997). The Theme of the Pentateuch. Sheffield Academic Press. ISBN 978-0-567-43196-7.
- Davies, Philip R; Rogerson, John W (2005). The Old Testament World. Liturgical Press. ISBN 978-0-664-23025-8.
- Dawes, Gregory W (2005). Introduction to the Bible. Liturgical Press. ISBN 978-0-8146-2835-5.
- Gilbert, Christopher (2009). A Complete Introduction to the Bible. Paulist Press. ISBN 978-0-8091-4552-2.
- Grabbe, Lester (2006). "The priests in Leviticus". ใน Rolf Rendtorff, Robert A. Kugler (บ.ก.). The Book of Leviticus: Composition and Reception. Brill. ISBN 978-90-04-12634-3.
- Greidanus, Sidney (2021). Preaching Christ from Leviticus. Eerdmans Publishing. ISBN 978-0-8028-7602-7.
- Knierim, Rolf P (1995). The Task of Old Testament Theology: Substance, Method, and Cases. Eerdmans. ISBN 978-0-8028-0715-1.
- Kugler, Robert; Hartin, Patrick (2009). An Introduction to the Bible. Eerdmans. ISBN 978-0-8028-4636-5.
- Levine, Baruch (2006). "Leviticus: Its Literary History and Location in Biblical Literature". ใน Rolf Rendtorff, Robert A. Kugler (บ.ก.). The Book of Leviticus: Composition and Reception. Brill. ISBN 978-90-04-12634-3.
- Marx, Alfred (2006). "The Theology of the Sacrifice according to Leviticus 1–7". ใน Rolf Rendtorff, Robert A. Kugler (บ.ก.). The Book of Leviticus: Composition and Reception. Brill. ISBN 978-90-04-12634-3.
- McDermott, John J (2002). Reading the Pentateuch: A Historical Introduction. Pauline Press. ISBN 978-0-8091-4082-4.
- Newsom, Carol Ann (2004). The Self as Symbolic Space: Constructing Identity and Community at Qumran. BRILL. ISBN 978-90-04-13803-2.
- Nihan, Christophe (2007). From Priestly Torah to Pentateuch: A Study in the Composition of the Book of Leviticus. Tuebingen: Mohr Siebeck. ISBN 978-3-16-149257-0.
- Rodd, Cyril S (2001). Glimpses of a Strange Land: Studies in Old Testament Ethics. T&T Clark. ISBN 978-0-567-08753-9.
- Rogerson, J.W. (1991). Genesis 1–11. T&T Clark. ISBN 978-0-567-08338-8.
- Van Seters, John (1998). "The Pentateuch". ใน Steven L. McKenzie, Matt Patrick Graham (บ.ก.). The Hebrew Bible Today: An Introduction to Critical Issues. Westminster John Knox Press. ISBN 978-0-664-25652-4.
- Ska, Jean-Louis (2006). Introduction to Reading the Pentateuch. Eisenbrauns. ISBN 978-1-57506-122-1.
- Watts, James W. (2007). Ritual and Rhetoric in Leviticus: From Sacrifice to Scripture. New York: Cambridge. ISBN 978-0-521-87193-8.
- Wenham, Gordon (2003). Exploring the Old Testament: The Pentateuch. SPCK.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]หนังสือเลวีนิติแบบออนไลน์:
- ภาษาฮีบรู:
- Leviticus at Mechon-Mamre เก็บถาวร 2009-04-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Jewish Publication Society translation)
- Leviticus (The Living Torah) เก็บถาวร 5 มีนาคม 2005 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Rabbi Aryeh Kaplan's translation and commentary at Ort.org
- Vayikra–Levitichius (Judaica Press) translation [with Rashi's commentary] at Chabad.org
- ויקרא Vayikra–Leviticus เก็บถาวร 2009-03-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Hebrew–English at Mechon-Mamre.org)
- คำแปลของคริสต์ศาสนิกชน translations:
- The Book of Leviticus, Douay Rheims Version, with Bishop Challoner Commentaries เก็บถาวร 2023-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Online Bible at GospelHall.org (King James Version)
- Online Audio and Classic Bible at Bible-Book.org เก็บถาวร 2022-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (King James Version)
- oremus Bible Browser (New Revised Standard Version)
- oremus Bible Browser (Anglicized New Revised Standard Version)
- Leviticus หนังสือเสียงสาธารณสมบัติที่ LibriVox Various versions
- เลวีนิติ (YouVersion)
บทความที่เกี่ยวข้อง:
- Book of Leviticus article (Jewish Encyclopedia)
- The Literary Structure of Leviticus (chaver.com)
การแนะนำขนาดสั้น
ก่อนหน้า หนังสืออพยพ |
หนังสือเลวีนิติ คัมภีร์ฮีบรู / พันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ |
ถัดไป หนังสือกันดารวิถี |