ฟุตบอลโลก 2006

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2006 FIFA World Cup)
ฟุตบอลโลก 2006
FIFA Fußball-Weltmeisterschaft
Deutschland 2006[1]
ไฟล์:FIFA World Cup 2006 Logo.svg
สัญลักษณ์ฟุตบอลโลก 2006 อย่างเป็นทางการ
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพเยอรมนี
วันที่9 มิถุนายน9 กรกฎาคม
ทีม32 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่12 (ใน 12 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิตาลี อิตาลี (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
อันดับที่ 3ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
อันดับที่ 4ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู147 (2.3 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม3,359,439 (52,491 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเยอรมนี มิโรสลาฟ โคลเซ่ (5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมฝรั่งเศส ซีเนดีน ซีดาน
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอิตาลี จันลุยจี บุฟฟอน
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมเยอรมนี ลูคัส โพด็อลสกี
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติสเปน สเปน
2002
2010

ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู

ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 โดยเอาชนะข้อเสนอจากบราซิล อังกฤษ โมร็อกโก และแอฟริกาใต้ (ซึ่งแอฟริกาใต้จะได้เป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2010)

รายชื่อประเทศที่เข้ารอบ[แก้]

ทวีปแอฟริกา (ซีเอเอฟ)
ทวีปเอเชีย (เอเอฟซี)
ทวีปอเมริกาใต้ (คอนเมบอล)
ทวีปโอเชียเนีย
ทวีปยุโรป (ยูฟ่า)
ทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (คอนคาแคฟ)
ประเทศที่เข้ารอบ

สถานที่จัดการแข่งขัน[แก้]

เบอร์ลิน ดอร์ทมุนท์ มิวนิก ชตุทท์การ์ท
โอลึมเพียชตาดิโยน ไซนัลอีดูนาปร์ก
(สนามฟุตบอลโลกแห่งดอร์ทมุนท์)
อัลลิอันซ์อาเรนา
(สนามฟุตบอลโลกแห่งมิวนิก)
Gottlieb-Daimler-Stadion
52°30′53″N 13°14′22″E / 52.51472°N 13.23944°E / 52.51472; 13.23944 (Olympiastadion (Berlin)) 51°29′33.25″N 7°27′6.63″E / 51.4925694°N 7.4518417°E / 51.4925694; 7.4518417 (Signal Iduna Park) 48°13′7.59″N 11°37′29.11″E / 48.2187750°N 11.6247528°E / 48.2187750; 11.6247528 (Allianz Arena) 48°47′32.17″N 9°13′55.31″E / 48.7922694°N 9.2320306°E / 48.7922694; 9.2320306 (Mercedes-Benz Arena)
ความจุ: 72,000[2] ความจุ: 65,000[3] ความจุ: 66,000[4] ความจุ: 52,000[5]
เกลเซนเคียร์เชิน ฮัมบวร์ค
เฟลทินส์อาเรนา
(สนามฟุตบอลโลกแห่งเกลเซนเคียร์เชิน)
อิมเทคอาเรนา
(สนามฟุตบอลโลกแห่งฮัมบวร์ค)
51°33′16.21″N 7°4′3.32″E / 51.5545028°N 7.0675889°E / 51.5545028; 7.0675889 (Veltins-Arena) 53°35′13.77″N 9°53′55.02″E / 53.5871583°N 9.8986167°E / 53.5871583; 9.8986167 (AOL Arena)
ความจุ: 52,000[6] ความจุ: 50,000[7]
แฟรงก์เฟิร์ต โคโลญ
Commerzbank-Arena
(สนามฟุตบอลโลกแห่งแฟรงก์เฟิร์ต)
RheinEnergieStadion
(สนามฟุตบอลโลกแห่งโคโลญ)
50°4′6.86″N 8°38′43.65″E / 50.0685722°N 8.6454583°E / 50.0685722; 8.6454583 (Commerzbank Arena) 50°56′0.59″N 6°52′29.99″E / 50.9334972°N 6.8749972°E / 50.9334972; 6.8749972 (RheinEnergie Stadion)
ความจุ: 48,000[8] ความจุ: 45,000[9]
ฮันโนเฟอร์ ไลพ์ซิก ไคเซอร์สเลาเทิร์น เนือร์นแบร์ก
เอชดีไออาเรนา
(สนามฟุตบอลโลกแห่งฮันโนเฟอร์)
เรดบูลอาเรนา Fritz-Walter-Stadion Frankenstadion
52°21′36.24″N 9°43′52.31″E / 52.3600667°N 9.7311972°E / 52.3600667; 9.7311972 (AWD-Arena) 51°20′44.86″N 12°20′53.59″E / 51.3457944°N 12.3482194°E / 51.3457944; 12.3482194 (Zentralstadion) 49°26′4.96″N 7°46′35.24″E / 49.4347111°N 7.7764556°E / 49.4347111; 7.7764556 (Fritz-Walter-Stadion) 49°25′34″N 11°7′33″E / 49.42611°N 11.12583°E / 49.42611; 11.12583 (EasyCredit-Stadion)
ความจุ: 43,000[10] ความจุ: 43,000[11] ความจุ: 46,000[12] ความจุ: 41,000[13]

การแบ่งโถสลาก[แก้]

สลากโถ A สลากโถ B สลากโถ C สลากโถ D สลากโถพิเศษ

ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
 อังกฤษ
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
ธงของประเทศสเปน สเปน

ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
 โกตดิวัวร์
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ธงของประเทศกานา กานา
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
ธงของประเทศโตโก โตโก
ธงของประเทศตูนิเซีย ตูนิเซีย

ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน

ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ธงของประเทศตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก
 สหรัฐ

ธงของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร

กลุ่ม A[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 9 3 3 0 0 8 2 +6
ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 6 3 2 0 1 5 3 +2
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 3 3 1 0 2 2 4 -2
ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 0 3 0 0 3 3 9 -6

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม B[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 7 3 2 1 0 5 2 +3
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 5 3 1 2 0 3 2 +1
ธงชาติปารากวัย ปารากวัย 3 3 1 0 2 2 2 0
ธงชาติตรินิแดดและโตเบโก ตรินิแดดและโตเบโก 1 3 0 1 2 0 4 -4

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม C[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 7 3 2 1 0 8 1 +7
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 7 3 2 1 0 3 1 +2
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ 3 3 1 0 2 5 6 -1
ธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 0 3 0 0 3 2 10 -8

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม D[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 9 3 3 0 0 5 1 +4
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก 4 3 1 1 1 4 3 +1
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา 2 3 0 2 1 1 2 -1
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน 1 3 0 1 2 2 6 -4

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม E[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 7 3 2 1 0 5 1 +4
ธงของประเทศกานา กานา 6 3 2 0 1 4 3 +1
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย 3 3 1 0 2 3 4 -1
 สหรัฐ 1 3 0 1 2 2 6 -4

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม F[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศบราซิล บราซิล 9 3 3 0 0 7 1 +6
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 4 3 1 1 1 5 5 0
ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย 2 3 0 2 1 2 3 -1
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 3 0 1 2 2 7 -5

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม G[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 7 3 2 1 0 4 0 +4
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 5 3 1 2 0 3 1 +2
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 4 3 1 1 1 3 4 -1
ธงของประเทศโตโก โตโก 0 3 0 0 3 1 6 -5

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

กลุ่ม H[แก้]

ทีม แต้ม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย รวม
ธงของประเทศสเปน สเปน 9 3 3 0 0 8 1 +7
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน 6 3 2 0 1 5 4 +1
ธงของประเทศตูนิเซีย ตูนิเซีย 1 3 0 1 2 3 6 -3
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 1 3 0 1 2 2 7 -5

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

เวลาในวงเล็บเป็นเวลาในประเทศไทย (UTC +7)

รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
24 มิ.ย. (22:00) - มิวนิก            
  ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  2
30 มิ.ย. (22:00) - เบอร์ลิน
  ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน  0  
  ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  1  (4)
24 มิ.ย. (02:00) - ไลพ์ซิจ
    ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา  1  (2)  
  ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา  2
4 ก.ค. (02:00) - ดอร์ทมุนท์
  ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก  1  
  ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี  0
26 มิ.ย. (22:00) - ไกเซอร์สเลาเทิร์น
    ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี  2  
  ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี  1
30 มิ.ย. (02:00) - ฮัมบวร์ค
  ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  0  
  ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี  3
26 มิ.ย. (02:00) - โคโลญน์
    ธงของประเทศยูเครน ยูเครน  0  
  ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์  0  (0)
10 ก.ค. (01:00) - เบอร์ลิน
  ธงของประเทศยูเครน ยูเครน  0  (3)  
  ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี  1  (5)
25 มิ.ย. (22:00) - สตุตการ์ต
    ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  1  (3)
   อังกฤษ  1
1 ก.ค. (22:00) - เกลเซนเคียร์เชิน
  ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์  0  
   อังกฤษ  0  (1)
25 มิ.ย. (02:00) - เนิร์นแบร์ก
    ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส  0  (3)  
  ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส  1
5 ก.ค. (02:00) - มิวนิก
  ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์  0  
  ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส  0
27 มิ.ย. (22:00) - ดอร์ทมุนท์
    ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  1   อันดับที่ 3
  ธงของประเทศบราซิล บราซิล   3
1 ก.ค. (02:00) - แฟรงค์เฟิร์ต 9 ก.ค. (02:00) - สตุตการ์ต
  ธงของประเทศกานา กานา  0  
  ธงของประเทศบราซิล บราซิล  0  ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี   3
27 มิ.ย. (02:00) - ฮันโนเฟอร์
    ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  1    ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส   1
  ธงของประเทศสเปน สเปน   1
  ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  3  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

    จุดโทษ  
สเตลเลอร์: รับได้
บาร์เนตตา: ชนคาน
คาบานาส: รับได้
0-3 เชฟเชนโก้: รับได้
มิเลฟสกี: เข้า
เรบรฟ: เข้า
กูเซฟ: เข้า
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

    จุดโทษ  
นอยวิลล์: เข้า
บัลลัค: เข้า
โพโดลสกี้: เข้า
โบโรวสกี้: เข้า
4-2 ครูซ: เข้า
อยาล่า: รับได้
มักซี โรดรีเกซ: เข้า
คัมบิอัสโซ่: ไม่เข้า
 
    จุดโทษ  
แลมพาร์ด: รับได้
ฮาร์กรีฟส์: เข้า
เจอร์ราร์ด: รับได้
คาร์ราเกอร์: รับได้
1-3 ซิเมา: เข้า
วิอานา: ชนเสา
เปอตีต์: ไม่เข้า
ปอสติก้า: เข้า
คริสเตียโน่ โรนัลโด้: เข้า
 

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)

รอบชิงที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

    จุดโทษ  
ปีร์โล่: เข้า
มาเตรัซซี: เข้า
เด รอสซี่: เข้า
เดล ปิเอโร่: เข้า
กรอสโซ่: เข้า
5-3 วิลตอร์: เข้า
เทรเซเก้ต์: ชนคาน
อาบิดัล: เข้า
ซาญอล: เข้า
 

ผู้ทำประตู[แก้]

ผู้ทำประตูได้สูงสุดของการแข่งขัน จะได้รับรางวัลรองเท้าทองคำ[14]จากอะดิดาส โรนัลโดจากทีมชาติบราซิลเคยได้รับรางวัลนี้ในฟุตบอลโลก 2002 โดยทำได้ 8 ประตู

สมุดภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ชื่อการแข่งขัน คำว่า Fussball (ฟุตบอล) สะกดตามภาษาเยอรมัน คือ Fußball แต่ฟีฟ่ากำหนดใช้ ss แทนที่ ß ในชื่ออย่างเป็นทางการ เพื่อให้ผู้ใช้ภาษาอื่นสามารถอ่านออกเสียงได้
  2. "Berlin". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  3. "Dortmund". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  4. "Munich". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  5. "Stuttgart". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  6. "Gelsenkirchen". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  7. "Hamburg". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  8. "Frankfurt". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  9. "Cologne". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  10. "Hanover". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  11. "Leipzig". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  12. "Kaiserslautern". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  13. "Nuremberg". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
  14. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-07-11. สืบค้นเมื่อ 2006-06-26.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

เว็บทางการ
เว็บการกุศล
บทวิเคราะห์อื่น