ข้ามไปเนื้อหา

สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้
ชื่อย่อCONMEBOL
CSF
คําขวัญCree en grande
(Acredite sempre)
เชื่อมั่นเสมอ
ก่อตั้ง9 กรกฎาคม 1916; 108 ปีก่อน (1916-07-09)
ประเภทองค์กีฬาฟุตบอล
สํานักงานใหญ่ลูเก (Gran Asunción) ประเทศปารากวัย
พิกัด25°15′38″S 57°30′58″W / 25.26056°S 57.51611°W / -25.26056; -57.51611
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ
ทวีปอเมริกาใต้
สมาชิก
10 ชาติสมาชืก
ภาษาทางการ
สเปน
โปรตุเกส
อาเลฆันโดร โดมิงเกซ
รองประธาน
Laureano González (คนแรก)
Claudio Tapia (คนที่ 2)
Ramón Jesurún (คนที่ 3) [1]
เลขาธิการ
José Astigarraga [2]
เหรัญญิก
Rolando López
องค์กรปกครอง
ฟีฟ่า
เว็บไซต์conmebol.com

สมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (สเปน: Confederación Sudamericana de Fútbol,[3] โปรตุเกส: Confederação Sul-Americana de Futebol[4]) หรือ คอนเมบอล (CONMEBOL) เป็นสมาพันธ์ฟุตบอลที่ดูแลในพื้นที่อเมริกาใต้ และเป็นหนึ่งในหกของสมาชิกสมาพันธ์ของฟีฟ่า เป็นสมาพันธ์ของทวีปที่เก่าแก่ที่สุด มีสำนักงานอยู่ที่เมืองลูเก ประเทศปารากวัย มีประธานคนปัจจุบันคือ อาเลฆันโดร โดมิงเกซ หน้าที่ของคอนเมบอลคือดูและการแข่งขันหลักของฟุตบอลระหว่างประเทศ โดยทีมชาติจากคอนเมบอลได้ชนะในการแข่งขันฟุตบอลโลก 9 ครั้ง (บราซิล 5 ครั้ง, อาร์เจนตินาและอุรุกวัย ทีมละ 2 ครั้ง)

สมาชิก

[แก้]

ไม่ได้เป็นสมาชิก

[แก้]

การแข่งขันที่จัดโดยคอนเมบอล

[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลก

[แก้]
สัญลักษณ์
  • 1st – แชม
  • 2nd – รองแชม
  •  3rd  – ที่ 3
  • 4th – ที่ 4
  • QF – รอบก่อนชิงชนะเลิศ
  • R16 – รอบ 16 ทีม (ตั้งแต่ปี 1986: รอบคัดออก 16 ทีม)
  • R2 – รอบ 2 (for the 1974, 1978, and 1982 tournaments, which had two group stages)
  • GS – รอบคัดเลือก
  • 1S – รอบ 1 คัดออก (1934–1938 Single-elimination tournament)
  • Q — อยู่ในระหว่างการแข่งขัน
  •    — ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  •     — ไม่ได้เข้าร่วม / ถอนตัว / โดนแบน
  •     — เจ้าภาพ

ชาย

[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนคอนเมบอลที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team ประเทศอุรุกวัย
1930
ประเทศอิตาลี
1934
ประเทศฝรั่งเศส
1938
ประเทศบราซิล
1950
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
1954
ประเทศสวีเดน
1958
ประเทศชิลี
1962
ประเทศอังกฤษ
1966
ประเทศเม็กซิโก
1970
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
1974
ประเทศอาร์เจนตินา
1978
ประเทศสเปน
1982
ประเทศเม็กซิโก
1986
ประเทศอิตาลี
1990
สหรัฐอเมริกา
1994
ประเทศฝรั่งเศส
1998
ประเทศเกาหลีใต้
ประเทศญี่ปุ่น
2002
ประเทศเยอรมนี
2006
ประเทศแอฟริกาใต้
2010
ประเทศบราซิล
2014
ประเทศรัสเซีย
2018
ประเทศกาตาร์
2022
Total
 อาร์เจนตินา 2nd 1S GS GS QF R2 1st R2 1st 2nd R16 QF GS QF QF 2nd R16 17
 โบลิเวีย GS GS GS 3
 บราซิล GS 1S 3rd 2nd QF 1st 1st GS 1st 4th 3rd R2 QF R16 1st 2nd 1st QF QF 4th QF 21
 ชิลี GS GS 3rd GS GS GS R16 R16 R16 9
 โคลอมเบีย GS R16 GS GS QF R16 6
 เอกวาดอร์ GS R16 GS 3
 ปารากวัย GS GS GS R16 R16 R16 GS QF 8
 เปรู GS QF R2 GS GS 5
 อุรุกวัย 1st 1st 4th GS QF 4th GS R16 R16 GS 4th R16 QF 13
 เวเนซุเอลา 0
Total 7 2 1 5 2 3 5 4 3 4 3 4 4 4 4 5 5 4 5 6 5 TBD 85

หญิง

[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนคอนเมบอลที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team ประเทศจีน
1991
ประเทศสวีเดน
1995
สหรัฐอเมริกา
1999
สหรัฐอเมริกา
2003
ประเทศจีน
2007
ประเทศเยอรมนี
2011
ประเทศแคนาดา
2015
ประเทศฝรั่งเศส
2019
Total
 อาร์เจนตินา GS GS GS 3
 โบลิเวีย 0
 บราซิล GS GS 3rd QF 2nd QF R16 R16 8
 ชิลี GS 1
 โคลอมเบีย GS R16 2
 เอกวาดอร์ GS 1
 ปารากวัย 0
 เปรู 0
 อุรุกวัย 0
 เวเนซุเอลา 0
Total 1 1 1 2 2 2 3 3

อันดับ

[แก้]

National teams

[แก้]

Top FIFA ranked team

Argentina national football teamBrazilian national football teamColombian national football teamArgentina national football teamColombian national football teamArgentina national football teamUruguayan national football teamBrazilian national football teamArgentina national football teamBrazilian national football teamArgentina national football teamBrazilian national football teamArgentina national football teamBrazilian national football teamArgentina national football teamBrazilian national football teamArgentina national football team
  • Last updates:
    • Men's national teams: 5 November 2015
    • Women's national teams: 10 July 2015
Top men's national teams
Rankings are calculated by FIFA.
____ Top women's national teams
Rankings are calculated by FIFA.
CSF FIFA Nation Points CSF FIFA Nation Points
1 1  อาร์เจนตินา 1442 1 6  บราซิล 1975
2 4  โคลอมเบีย 1224 2 25  โคลอมเบีย 1747
3 5  บราซิล 1209 3 36  อาร์เจนตินา 1621
4 8  ชิลี 1149 4 42  ชิลี 1559
5 18  อุรุกวัย 1002 5 51  ปารากวัย 1459
6 34  เอกวาดอร์ 764 6 54  เอกวาดอร์ 1451
7 48  เปรู 628 7 61  เปรู 1412
8 50  เวเนซุเอลา 612 8 65  เวเนซุเอลา 1380
9 55  ปารากวัย 592 9 70  อุรุกวัย 1361
10 67  โบลิเวีย 521 10 96  โบลิเวีย 1217

Clubs

[แก้]
CSF Club Points
1 ประเทศอาร์เจนตินา River Plate 1742
2 ประเทศบราซิล Corinthians 1705
3 ประเทศอาร์เจนตินา Boca Juniors 1663
4 ประเทศบราซิล Grêmio 1658
5 ประเทศบราซิล Atlético Mineiro 1657
6 ประเทศอาร์เจนตินา Racing Club 1630
7 ประเทศอาร์เจนตินา San Lorenzo 1630
8 ประเทศปารากวัย Cerro Porteño 1619
9 ประเทศบราซิล São Paulo 1614
10 ประเทศปารากวัย Guarani 1604

Last updated: 30 August 2015

IFFHS

[แก้]
Zonal
Ranking
IFFHS
Ranking
Club Points
1 5 ประเทศโคลอมเบีย Atlético Nacional 249.0
2 9 ประเทศอาร์เจนตินา River Plate 228.0
3 14 ประเทศบราซิล Cruzeiro 219.0
4 16 ประเทศบราซิล Atlético Mineiro 208.0
5 18 ประเทศอาร์เจนตินา San Lorenzo 204.0
6 21 ประเทศอาร์เจนตินา Lanus 201.0
7 27 ประเทศเอกวาดอร์ Emelec 184.0
8 30 ประเทศปารากวัย Cerro Porteño 181.0
9 34 ประเทศปารากวัย Club Nacional 172.5
10 35 ประเทศบราซิล Grêmio 172.0

Last updated on: January 13, 2015 – [1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. El Comité Ejecutivo on Conmebol (updated, 14 Sep 2021)
  2. CONMEBOL nombra a José Manuel Astigarraga como nuevo Secretario General, 1 Nov 2016
  3. เสียงอ่านภาษาสเปน: [komfeðeɾaˈθjon suðameɾiˈkana ðe ˈfuðβol], สำเนียงท้องถิ่น: [komfeðeɾaˈsjon suðameɾiˈkana ðe ˈfutβol].
  4. เสียงอ่านภาษาโปรตุเกส: [kõfedeɾaˈsɐ̃w suw.ɐmeɾiˈkɐnɐ dʒi futʃʲˈbɔw].

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]