เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก บีอีซี-เทโร)
บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน)
ประเภทสื่อสารมวลชน
รูปแบบสื่อประสม
ก่อนหน้าบจก.เวิลด์มีเดียซัพพลายส์
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 (29 ปี)
บจก.บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
27 มีนาคม พ.ศ. 2541 (26 ปี)
บมจ.บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
12 มีนาคม พ.ศ. 2546 (21 ปี)
ก่อตั้ง8 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (3 ปี)
ผู้ก่อตั้งไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์
สำนักงานใหญ่998/3 ซอยพหลโยธิน 18/1 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
บุคลากรหลัก
ผลิตภัณฑ์รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ สถานีวิทยุ ค่ายเพลง คอนเสิร์ต อีเว้นท์ และ บริการ
บริการรับจัดกิจกรรม
จำหน่ายบัตรผ่านประตู
บริษัทในเครือ
เว็บไซต์www.teroasia.com

บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทมหาชนจำกัด ของไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ โดยประกอบกิจการ และรับจ้างบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสื่อประสม, จัดการแสดงหรือกิจกรรมบันเทิง/กีฬาครบวงจร รวมถึงบริการจำหน่ายบัตรผ่านประตู ทั้งนี้บริษัทฯ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากการเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์การประกวดนางงามเวทีมิสไทยแลนด์เวิลด์ และเป็นเจ้าของสโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโร มีคำขวัญว่า "เชื่อมติดทุกชีวิตบันเทิง" (Passion United)[1]

ประวัติ[แก้]

เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ก่อตั้งขึ้นในชื่อ บริษัท เวิลด์มีเดียซัพพลายส์ จำกัด เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นชื่อเป็น บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด[2] เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2541 พร้อมทั้งเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น โดยบริษัท บีอีซีเวิลด์ จำกัด (มหาชน) เข้าร่วมทุนกับไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ นักธุรกิจชาวอเมริกันเชื้อสายเมียนมาร์ โดยบีอีซีเวิลด์ถือหุ้นใหญ่ในบีอีซี-เทโรฯ ที่ร้อยละ 59.99[3] ซึ่งกิจการตั้งต้นของบีอีซี-เทโรฯ คือผลิตรายการโทรทัศน์ สำหรับออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์ในเครือเดียวกัน, จัดหาการแสดง/คอนเสิร์ตมาแสดงในประเทศไทย, จัดกิจกรรมต่างๆ, ผลิตภาพยนตร์, ให้บริการผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ และร่วมทุนกับบริษัทอื่น เพื่อประกอบกิจการบันเทิงหลายประเภท โดยเฉพาะทรูวิชั่นส์[4]และจดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด โดยใช้ชื่อว่า บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2546

แต่ต่อมาในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2563 บีอีซีเวิลด์ได้ขายหุ้นทั้ง 59.99% ในบีอีซี-เทโรฯ กลับไปให้ไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ ถือหุ้นทั้งหมดจำนวน 100% ทำให้บีอีซี-เทโรฯ พ้นสภาพการเป็นบริษัทย่อยของบีอีซีเวิลด์ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ปีเดียวกัน[5]

ต่อมาในวันที่ 23 ธันวาคม ปีเดียวกัน ไบรอัน ลินด์เซย์ มาร์การ์ ได้ส่งผู้บริหารบางส่วนไปบริหารในบริษัท แม็ทชิ่ง แม็กซิไมซ์ โซลูชั่น จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือช่อง 7 เอชดี ก่อนที่กลุ่มของไบรอันทั้งหมดจะเข้าไปมีอำนาจในการบริหารบริษัทแม็ทชิ่งฯ ร่วมกันด้วย[6] ดังนั้นเทโรฯ จึงถอนรายการที่เทโรผลิตในช่อง 3 เอชดี ออกจากผังของช่องทั้งหมดในหลังสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ยกเว้นเรื่องเล่าหน้าหนึ่ง เรื่องเล่าเช้านี้ และเรื่องเล่าเสาร์–อาทิตย์ ที่จำหน่ายลิขสิทธิ์ไปให้ฝ่ายข่าวของช่องผลิตเอง และให้บริษัท ไร่ส้ม จำกัด ของสรยุทธ สุทัศนะจินดา ร่วมผลิตรายการเช่นเดิม[7] หลังจากนั้นเทโรได้ย้ายสำนักงานและสตูดิโอมายังพื้นที่ของช่อง 7 เอชดี โดยใช้อาคารร่วมกับมีเดีย สตูดิโอ

คณะผู้บริหาร[แก้]

บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) มีคณะผู้บริหารชุดปัจจุบัน ดังต่อไปนี้[1]

รายชื่อประธานกรรมการ[แก้]

  1. คุณหญิง ลลิลทิพย์ ธารวณิชกุล (พ.ศ. 2537-2539)
  2. นาย ประชา มาลีนนท์ (พ.ศ. 2540-2542)
  3. นาย บุญชู โรจนเสถียร (พ.ศ. 2542-2545)
  4. นาย อมร จันทรสมบูรณ์ (พ.ศ. 2546-2550)
  5. คุณหญิง ชฎา วัฒนศิริธรรม (พ.ศ. 2551-2555)
  6. นาย ชาตรี โสภณพนิช (พ.ศ. 2556-2561)
  7. นาย ปิติ สิทธิอำนวย (พ.ศ. 2561-2565)
  8. พลตำรวจเอก สุรเชษฐ์ หักพาล (พ.ศ. 2565-2566)
  9. พลเอก สัณทัศน์ นันทิภาคย์หิรัญ (พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน)

กลุ่มธุรกิจของบริษัทฯ[แก้]

บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) จำแนกประเภทของการประกอบธุรกิจ ออกเป็น 8 กลุ่มหลัก ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

  • กลุ่มธุรกิจโทรทัศน์ - ธุรกิจกลุ่มนี้จำแนกเป็นคณะทำงานผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ จำนวน 3 แผนกคือ เทโร ดรามา (Tero Drama) (หรือชื่อเดิม: บางกอกการละคอน) ผลิตละครโทรทัศน์, เทโร เทเลวิชัน (Tero Television) ผลิตรายการดนตรี ปกิณกะ เกมโชว์ การศึกษา สอนภาษาอังกฤษ กีฬา และ เทโร นิวส์ (Tero News) ผลิตรายการข่าว นอกจากนี้ ยังผลิตรายการพิเศษในโอกาสต่าง ๆ เช่น รายการโฆษณาการแสดง/คอนเสิร์ต หรือถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอล ทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น[1]
  • กลุ่มธุรกิจจัดหารายการแสดงและจัดกิจกรรม - ธุรกิจกลุ่มนี้ จำแนกเป็นช่วงวัยของผู้ชม 3 กลุ่มคือ กิจกรรมสำหรับครอบครัว (Family Events) เช่น การแสดงของดิสนีย์ หรือการแสดงมายากล, กิจกรรมสำหรับเยาวชน (Youth Events) เช่นการแสดงคอนเสิร์ต ของศิลปินเพลงสมัยใหม่ จากต่างประเทศ และ กิจกรรมร่วมสมัยสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Contemporary) เช่นการประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์ หรือการแสดงคอนเสิร์ต ของศิลปินเพลงยุคอดีต จากต่างประเทศ[1]
  • กลุ่มธุรกิจวิทยุกระจายเสียง - ธุรกิจกลุ่มนี้ มีการก่อตั้ง บริษัท เทโร เรดิโอ จำกัด ขึ้นอยู่ในเครือเทโรฯ เพื่อดำเนินการผลิต รายการวิทยุตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งปัจจุบันมีสัมปทานอยู่ใน 3 คลื่นความถี่ คือเอฟเอ็ม 95.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ฮิตซ์ ไทยแลนด์ (Hitz Thailand) (ปัจจุบัน Hitz Thailand ได้ประกอบธุรกิจวิทยุบนระบบออนไลน์อย่างเดียวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545, เอฟเอ็ม 98.0 เมกะเฮิร์ตซ์ เวอร์จิ้นสตาร์ (Virgin Star) ปัจจุบันชื่อ Star FM. (สตาร์ เอฟเอ็ม) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 และเอฟเอ็ม 102.5 เมกะเฮิร์ตซ์ อีซีเอฟเอ็ม (Eazy FM) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 นอกจากนี้ ยังดำเนินการส่งวิทยุกระจายเสียง ผ่านออนไลน์ทางเว็บไซต์ www.teroradio.com ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 อีกจำนวน 3 ช่องรายการคือ แร็ดเรดิโอ (Rad Radio), ร็อกออนเรดิโอ (Rock on Radio) และ โตฟุป๊อปเรดิโอ (Tofu Pop Radio) ซึ่งผู้ฟังสามารถสื่อสารกับนักจัดรายการวิทยุ ผ่านเว็บไซต์ดังกล่าว ซึ่งสามารถเข้าใช้ด้วยสมาร์ตโฟน และแอปพลิเคชันสำหรับสมาร์ตโฟน[8]
  • กลุ่มธุรกิจดนตรี - ธุรกิจกลุ่มนี้ มีการก่อตั้ง บริษัท เทโร มิวสิก จำกัด ขึ้นอยู่ในเครือเทโรฯ เพื่อรับสิทธิในการบริหารลิขสิทธิ์ และจัดจำหน่ายงานดนตรี รวมถึงการประชาสัมพันธ์ศิลปิน ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ในสังกัดโซนีมิวสิก, วายจีเอ็นเตอร์เทนเมนต์, ฮอตเท็ต และเบเกอรีมิวสิก ทั้งร่วมผลิตผลงานดนตรี และบริหารศิลปินในสังกัดเลิฟอีส นอกจากนี้ ยังเปิดให้บริการเว็บไซต์ www.qikplay.com เพื่อจำหน่ายเพลงไทยสากล และเพลงสากลในรูปไฟล์ดิจิทัล และจำหน่ายของที่ระลึกจากศิลปิน[4]
  • ธุรกิจบริการบัตรผ่านประตู - ธุรกิจกลุ่มนี้ มีการก่อตั้ง บริษัท ไทยทิคเก็ตเมเจอร์ จำกัด ซึ่งเกิดจากเทโรฯ เข้าร่วมทุนกับกลุ่มเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ เมื่อปี พ.ศ. 2542 เพื่อให้บริการรับจอง และจำหน่ายบัตรผ่านประตู อย่างครบวงจรแห่งแรกในประเทศไทย[9] โดยมีสาขาจำหน่ายบัตร ซึ่งดำเนินการเอง มากกว่า 300 แห่ง ทั้งมีสาขาร่วมกับธุรกิจอื่น เช่นศูนย์การค้า, ห้างสรรพสินค้า, โรงภาพยนตร์ หรือที่ทำการไปรษณีย์ทั่วประเทศ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีระบบจำหน่ายผ่านเว็บไซต์ www.thaiticketmajor.com, ศูนย์โทรศัพท์ (Call Center) และโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Wap)[4]
  • กลุ่มธุรกิจกีฬา - ธุรกิจกลุ่มนี้ ดำเนินกิจการในสถานะของ ผู้จัดรายการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆ เช่นเทนนิสรายการไทยแลนด์โอเพน ของสมาคมเทนนิสอาชีพ (Association of Tennis Professionals; ATP), ตะกร้อรายการซูเปอร์ซีรีส์ ของสหพันธ์ตะกร้อนานาชาติ (International Sepaktakraw Federation; ISTAF) รวมทั้งรับจ้างเป็นผู้จัดกิจกรรมเชิงกีฬา ให้แก่หน่วยงานและองค์กรต่างๆ เช่นการแข่งขันโปโลคิงส์คัพ เป็นต้น[1] นอกจากนี้ยังโดยดำเนินการพัฒนา มาตรฐานของนักฟุตบอลไทย ร่วมกับ สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล ในพรีเมียร์ลีกด้วย[4]
  • กลุ่มธุรกิจและบริการอื่น - นอกเหนือจากธุรกิจกลุ่มหลัก ดังกล่าวข้างต้นแล้ว เทโรฯ ยังดำเนินกิจการอื่นอีกคือ บริการจัดทำโฆษณาประชาสัมพันธ์, รับจ้างบริการประชาสัมพันธ์ทั่วไป, รับจ้างผลิตและจัดกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งดำเนินงานการกุศล ภายใต้ชื่อ เทโร แคร์ (Tero Care) นอกจากนี้ ยังจำหน่ายสินค้าเพื่อสุขภาพ ประเภทผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และผลิตภัณฑ์ดูแลผิวพรรณด้วย[1]

บริษัทลูก[แก้]

ตัวเลขในวงเล็บ ข้างท้ายชื่อบริษัท หมายถึงอัตราร้อยละ ที่เทโรฯ ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าว[3]

  • บริษัท เทโร เรดิโอ จำกัด (99.99)
  • บริษัท เทโร เมียนมาร์ จำกัด (99.99)
  • บริษัท เทโร แอ๊พพ์ (40.00)

บริษัทร่วมทุน[แก้]

ตัวเลขในวงเล็บ ข้างท้ายชื่อบริษัท หมายถึงอัตราร้อยละ ที่เทโรฯ ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าว[3]

บริษัทร่วมดำเนินธุรกิจ[แก้]

ละครโทรทัศน์[แก้]

  • ละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศทางช่อง 3
ชื่อ วันและเวลา วันที่ นักแสดงนำ บทบาท ผลิตร่วมกับ
เจ้ากรรมนายเวร วันจันทร์ - วันอังคาร เวลา 20.20 - 22.20 น. 14 พฤศจิกายน 2543 - 2 มกราคม 2544
ยาน แฟน ฟอสแซแมร์,
หม่อมราชวงศ์ราชนิกูล,
หมอชาตบดินทร์,
หมอวิชาญ ฟอสแซแมร์
/
ท้าวทรงวาด,
รัญจวน,
จุติพร,
พิณพร
/
นายจัน,
พระยาบำรุงราษฎร์,
สมภพ
/
นายคง,
ขุนกำราบไพรี,
รำลึก
/
นางดี,
ปานเทวี,
สัตตบงกช
/
นายอิน,
นายทองสุก,
สหัสชาติ
/
นางอยู่,
แม่ชีนกเล็ก,
นางเกิด
/
นายมั่น,
ตาบัว,
จ่าสนธิ
/
บัวแก้ว,
หมอนภีสี
/
แม่ของยาน แฟน ฟอสแซแมร์,
แจ่ม,
พยาบาล
/
เจ้าเมืองลพบุรี,
พ่อของหมอชาตบดินทร์
บางกอกการละคอน
ปลายเทียน วันจันทร์ - วันอังคาร เวลา 20.20 - 22.20 น. 21 พฤษภาคม 2545 - 8 กรกฎาคม 2545
นาริมน โภไคยพนิช
(เกาลัด)
/
แสนตรีเพชร (กล้า)
/
เจ้าสร้อยสุมาลี
/
เรวิทย์
นิราศสองภพ วันจันทร์ - วันอังคาร เวลา 20.20 - 22.20 น. 14 ตุลาคม 2545 - 10 ธันวาคม 2545
หมื่นเทียน
/
บัวบุษยา หิรัญมนตรีกุล
/
ส้มหอม
/
จันหอม
(ลูกจันทร์)
/
ณัฐฐา หิรัญมนตรีกุล
(แม่ของบัวบุษยา)
/
ขุนหลวงตาก,
พระยาตาก,
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
/
ชงโค
/
พระยาพลเทพ
/
หลวงเชิด
/
เหลียง
สายโลหิต วันจันทร์ - วันอังคาร เวลา 20.15 - 22.20 น. 21 ตุลาคม 2546 - 2 ธันวาคม 2546
ขุนไกร,
หลวงไกรสรเดช,
พระสีหราชฤทธิไกร,
พระยาไกรสีห์ราชภักดี
(วัยกลางคน)
/
ดาวเรือง,
คุณหญิงไกรสีห์ราชภักดี,
(วัยกลางคน)
/
ดาวเรือง
(วัยเด็ก)
/
ขุนไกร
(วัยเด็ก)
พรายปรารถนา วันจันทร์ - วันอังคาร เวลา 20.20 - 22.05 น. 20 ธันวาคม 2547 - 31 มกราคม 2548
นิมมาน
/
จุลจันทร์
(ผีพราย)
/
กิรณา
/
เด่นภูมิ
สร้อยแสงจันทร์ วันศุกร์ - วันอาทิตย์ เวลา 20.30 - 22.30 น. 22 กรกฎาคม 2550 - 25 สิงหาคม 2550
กีรณะ,
จโรกะ
/
เมลานี,
มณีจันทร์เทวี
/
พุมมะ,
พุทธิ
/
ณะจัน,
เดือนเต็มดวง
แกะรอยรัก วันศุกร์ - วันอาทิตย์ เวลา 20.30 - 22.30 น. 2 สิงหาคม - 30 สิงหาคม พ.ศ. 2551
ทรงรบ
/
ชมเดือน
/
ทรงต้น
/
เจนนิเฟอร์
-
ปราสาทมืด วันศุกร์ เวลา 20.30 - 22.30 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 20.15 - 22.30 น. 18 กันยายน - 11 ตุลาคม พ.ศ. 2552
นายแพทย์ภะรต
ภารตรักษ์
/
หม่อมเจ้าหญิงอุมารังษี อิศรา
วุ่นวายสบายดี วันจันทร์ - วันพฤหัสบดี เวลา 18.00 - 18.30 น. 15 พฤษภาคม 2555 - 30 สิงหาคม 2555
หมอกลางหาว
/
น้ำทอง
บางกอกการละคอน
ลับ ลวง หลอน วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 18.00 - 18.30 น. วันเสาร์ เวลา 17.45 - 18.15 น. 3 กันยายน - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
จอมทัพ
/
หนูนา
-
เงาะแท้แซ่ฮีโร่ วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.45 น. 1 มกราคม - 5 มีนาคม พ.ศ. 2556
สังข์,
เงาะ
/
รจนา
มิสเตอร์บ้านนา วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.45 น. 6 มีนาคม - 16 เมษายน พ.ศ. 2556
จิมมี่
/
แคท
รักข้ามเส้น วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 18.45 - 20.00 น. 21 มีนาคม - 23 เมษายน พ.ศ. 2556
ชาคริต
/
ฟ้ามุ่ย
/
ฟ้าลั่น
/
ฉัตร
ยัยบุญกับหมอทึ่ม วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.45 น. 17 เมษายน - 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556
ทัชมา
/
บุญจิรา
แสนซนค้นรัก วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.45 น. 13 มิถุนายน - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
โอม
/
วีนัส
(เปงกุมปราสเลีย)
กองร้อยกระทะเหล็ก วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.30 น. 2 สิงหาคม - 26 กันยายน พ.ศ. 2556
ปราบ
/
สายรุ้ง
/
สิชล
/
บาน
หลบผี ผีไม่หลบ วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.30 น. 27 กันยายน - 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
เอ๊ด
/
ญาดา
/
วิท
/
วาณี
มาเฟียตาหวาน วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.30 น. 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 28 มกราคม พ.ศ. 2557
อารักษ์
(อาลัก)
/
สาลี่
/
เจ้าพ่อหลี่
/
ซินดี้
คุณชายรักเร่ 29 มกราคม 2557 - 26 มีนาคม 2557 29 มกราคม - 26 มีนาคม พ.ศ. 2557
หม่อมหลวง ภูผาเทพ
(รักเร่)
/
ฝนริน
/
หม่อมหลวง อัศวเมธา
(คุณใหญ่)
/
ฟ้ารุ่ง
บริษัท จันทร์ 25 จำกัด
ธิดาแดนซ์ วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 17.45 - 18.30 น. 27 มีนาคม - 2 มิถุนายน พ.ศ. 2557
(วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 งดออกอากาศ)
เทิดไท
/
ฝนหลวง
/
วิทย์
/
ชมบงกช
/
ดิน
/
สร้อยเพชร
ขอเป็นเจ้าสาวสักครั้งให้ชื่นใจ วันศุกร์ เวลา 20.00 - 20.15 น. , เวลา 20.55 - 23.10 น. และวันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 20.15 - 22.45 น. 28 สิงหาคม - 25 กันยายน พ.ศ. 2558
ปูรณ์ วรรณดำรง
/
วรรณวิวาห์ วรรณดำรง
(วีว่า)
/
ลาภิศ วงศ์สินวิเศษ
(ลม)
/
มุกริน เวลแม็กซ์
(ริน)
/
ชั้นฉัตร กาญจนวิภู
/
จันจ้าว วรรณดำรง
(เจ้าขา)
/
คุณลึกลับ,
เทวดา,
เจ้าสัววรรณ วรรณดำรง
(วัยหนุ่ม)
-
ซีรีส์เหลี่ยมโจร วันอาทิตย์ เวลา 14.15 - 15.00 น. 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 - 31 มกราคม พ.ศ. 2559
ผู้กองก้องภัค
/
แยม
/
จ่าคมสัน
/
หมู่ช้าง
/
โบ้
/
ต้อย
ครั้งนั้นไม่ลืม วันเสาร์ เวลา 20:15 - 21:15 น. 18 กุมภาพันธ์ - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
อิฐ
/
น้ำอุ่น
/
พอร์ช
/
ข้าวฟ่าง
/
มาร์ค
/
เหน่ง
/
เกรซ
  • ละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศทางช่อง 7
ชื่อ วันและเวลา วันที่ นักแสดงนำ บทบาท ผลิตร่วมกับ
มนตราฟ้าฟื้น วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 19.00 - 20.00 น. 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ขุนพล,
ขุนแผน
/
โมลิน,
วันทอง
/
ณคุณ,
ขุนช้าง
/
สร้อยสุคนธา,
เอพริล
/
ลาวทอง,
ยูกิโกะ
/
เคน
/
ดร.สิรินยา
/
แม่หมอไอดา
/
บาไท

ละครชุด[แก้]

ซิตคอม[แก้]

  • ซิตคอมที่ออกอากาศทางช่อง 3
ชื่อ วันและเวลา วันที่ นักแสดงนำ บทบาท ผลิตร่วมกับ
สงครามข้างเตา ไม่ทราบเวลาการออกอากาศ พ.ศ. 2547
จุมโพ่
/
แป้ง
/
เฮียอ๋า
/
อาจารย์แซม
บางกอกการละคอน
ชื่อ วันและเวลา วันที่ นักแสดงนำ บทบาท ผลิตร่วมกับ
ผู้ใหญ่โย่ง ทุกวันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 09:00 - 10:00 น. ยังไม่มีกำหนดการออกอากาศ
รักสุดซอย ทุกวันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 09:00 - 10:00 น. ยังไม่มีกำหนดการออกอากาศ

รายการข่าว[แก้]

ชื่อ ผู้ประกาศ วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
เก็บตก
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 20.10-20.15 น.
ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09:30-10:30 น.
พ.ศ. 2538-เมษายน พ.ศ. 2559
เริ่มวันที่ 2 พฤษภาคม 2559-30 กันยายน พ.ศ. 2562
ช่อง 3 เอชดี
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
บริษัท เซิร์ช เอ็นเตอร์เทน​เม้นท์ จำกัด
โลกยามเช้า วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 04.05-04.30 น. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2546 –31 มีนาคม 2563
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:Ch3ThailandNews
บางกอกการละคอน
ข่าววันใหม่ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 00:20 - 01:15 น. และวันเสาร์ เวลา 01:15 - 01:45 น. หรือ 01:00 - 01:45 น. เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:Ch3ThailandNews
บางกอก การละคอน
เรื่องเล่าหน้าหนึ่ง ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 05:30 - 06:00 น. 30 กรกฎาคม 2561- ปัจจุบัน
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:เรี่องเล่าเช้านี้
เรื่องเล่าเช้านี้ ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 06:00-08:20 น. 2 มิถุนายน พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:เรื่องเล่าเช้านี้
Facebook:เรี่องเล่าเช้านี้
บางกอกการละคอน
บริษัท ไร่ส้ม จำกัด
จำหน่ายลิขสิทธิ์ไปให้ฝ่ายข่าวของช่องผลิตเอง เมี่อวันที่ 11 ธันวาคม 2563
เรื่องเล่าเสาร์–อาทิตย์ ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 10:15-12:15 น. 2 มกราคม พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:เรื่องเล่าเช้านี้
ในช่วงแรก เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ ร่วมผลิตกับ บางกอกการละคอน ก่อนจะร่วมกันผลิตรายการกับ บริษัท ไร่ส้ม จำกัด
ในเวลาต่อมา ได้จำหน่ายลิขสิทธิ์ไปให้ฝ่ายข่าวของช่องผลิตเอง เมี่อวันที่ 12 ธันวาคม 2563
ก๊วนข่าวเช้าวันหยุด
คิดเช่นเห็นต่าง
ข่าวเช้าวันหยุด
ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 06:00 - 06:25 น. เริ่มวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2558 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:Ch3ThailandNews
YouTube:TERO Variety
ตู้ ป.ณ. ข่าว 3 ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15:15 - 15:55 น.
เริ่มวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
2 มิถุนายน พ.ศ. 2557-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3HD (33)
3SD (28)
YouTube:Ch3ThailandNews
บริษัท ทำดีมีรวย จำกัด
เที่ยงเปิดประเด็น ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 12.55-14.00 น. เริ่มวันที่ 2 พฤษภาคม 2557-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
BEC NEWS ทุกวันถึงวัน เวลา 0:00-0:00 น. เริ่มวันที่ 2 พฤษภาคม 2557-30 กันยายน พ.ศ. 2563
3SD (28)
YouTube:Ch3ThailandNews
ชั่วโมงสร้างสุข ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 14:00 - 14:45 น. เริ่มวันที่ 2 พฤษภาคม 2557-สิงหาคมพ.ศ. 2561
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
ท็อปนิวส์ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ 15:00-16:00 น. เริ่มวันที่ มิถุนายน 2558-30 กันยายน พ.ศ. 2563
3SD (28)
YouTube:Ch3ThailandNews
เป็นข่าวเช้านี้ ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09:30-10:30 น. เริ่มวันที่ 2 พฤษภาคม 2559-30 กันยายน พ.ศ. 2559
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
เป็นข่าวชาวบ้าน ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 05:00-06:00 น., วันเสาร์-วันอาทิตย์ เวลา 04:45-6:00 น เริ่มวันที่ 1 พฤษภาคม 2559-31 สิงหาคม พ.ศ. 2561
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
Midnight Family ทุกวันจันทร์ถึงวันพฤหัสบดี เวลา 22:30-00:00 น. และวันอาทิตย์ 23:00 - 00:30 น. เริ่มวันที่ กรกฎาคม 2561-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
ตีข่าวเช้า ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 05:00 - 07:25 น. เริ่มวันที่ 4 พฤศจิกายน 2560-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3SD (28)
YouTube:Ch3ThailandNews
ค่ำทันข่าว ทุกวันจันทร์ถึงวันอาทิตย์ (ยกเว้นวันศุกร์) เวลา 20:30 - 21:30 น. และวันศุกร์ เวลา 20:45 - 21:45 น. เริ่มวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
คนเฝ้าข่าว ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 14:25 - 15:10 น. เริ่มวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2562-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3SD (28)
YouTube:Ch3ThailandNews
คัดข่าวดี ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 07.15-07.45 น. เริ่มวันที่ 3 กันยายน 2561-30 กันยายน พ.ศ. 2562
3 Family (13)
YouTube:Ch3ThailandNews
ข่าวสั้น 13
ผู้ประกาศข่าวช่อง 3
ออกอากาศขั้นหลังจบรายการต่างๆทางสถานีประมาณหนึ่งชั่วโมง พฤษภาคม พ.ศ. 2557-30 กันยายน พ.ศ. 2562 3 Family (13)
ข่าวสั้น 28
ผู้ประกาศข่าวช่อง 3
ออกอากาศขั้นหลังจบรายการต่างๆทางสถานีประมาณหนึ่งชั่วโมง พฤษภาคม พ.ศ. 2557-30 กันยายน พ.ศ. 2562 3SD (28)
ข่าวเย็นประเด็นร้อน ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 16.00 - 17:30 น.
เดิมทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.45 - 18.00 น. (4 กรกฎาคม 2565 - 2 มิถุนายน 2566)
เดิมทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.45 - 17.30 น. ( 5 มิถุนายน 2566 - 17 พฤศจิกายน 2566)
4 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 - ปัจจุบัน ช่อง 7HD (35)
เช้านี้ที่หมอชิต ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 06:00 - 07:30 น.
เดิมทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 05.50 - 07.30 น. (2 มกราคม - 31 กรกฎาคม 2566)
2 มกราคม พ.ศ. 2566 - ปัจจุบัน
เดิมออกอากาศแรก
1 มิถุนายน 2552 - ปัจจุบัน
ช่อง 7HD (35)
ในช่วงแรก มีเดียสตูดิโอ ผลิตตั้งแต่ช่วง 1 มิถุนายน 2552 - 30 กันยายน 2562 ในเวลาต่อมา ได้จำหน่ายลิขสิทธิ์ไปให้ ฝ่ายข่าวช่อง 7HD ตัั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 - 30 ธันวาคม 2565
BIG DEBATE ทุกวันจันทร์ถึงวันอังคาร เวลา

20:30 - 22:20 น.

ออกอากาศ
10 เมษายน พ.ศ. 2566 - 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2566
ช่อง 7HD (35)

รายการข่าวบันเทิง[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
เมาท์สะเด็ด 7 สี วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 14.45-15.45 น. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2564 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ช่อง 7 เอชดี
ควบคู่กับทางออนไลน์
YouTube:TERO DIGITAL
Facebook:TERODigital
Twitter:terodigital
IG:terodigital
TikTok:@terodigital

รายการวาไรตี้[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
ทีวีเบลอเบลอ นิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 22.20 - 23.20 1 มกราคม - 15 เมษายน พ.ศ. 2547 ช่อง 3 บางกอกการละคอน
โต๊ะกลมโทรทัศน์

รายการเทคโนโลยีสารสนเทศ[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
แบไต๋7HD (ไอทีและยานยนต์) วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 12.20-12.40 น. และออนไลน์ทุกวันจันทร์ และวันพุธ 18.30 น. 6 มิถุนายน พ.ศ. 2565 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ช่อง 7 เอชดี
ควบคู่กับทางออนไลน์
YouTube:TERO DIGITAL
Facebook:TERODigital
Twitter:terodigital
IG:terodigital
TikTok:@terodigital

แบไต๋ beartai
YouTube:beartai
Facebook:beartai
Twitter:beartai
IG:beartai.ig
TikTok:@beartai
โชว์ไร้ขีด

รายการข่าวเศรษฐกิจ[แก้]

ชี่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
เงินทองของจริง
รวมเป็นช่วงหนึ่งของรายการสนามข่าว 7 สี
ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.15 - 09.25 น. 4 กรกฎาคม 2565 - ปัจจุบัน ช่อง 7HD
Youtube:Ch7HDNews
Facebook:CH7HDNews
YouTube:TERO DIGITAL
Facebook:TERODigital
Twitter:terodigital
IG:terodigital
TikTok:@terodigital
เดอะสแตนดาร์ด
(ตั้งแต่ 4 กรกฎาคม 2565 - 31 มกราคม 2566)

รายการกีฬา[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
Thailand Open (ATP)
ปัจจุบันยุบรวมกับรายการเทนนิส ATP Finals
กฤษฎิน สุวรรณบุปผา (เก่ง)
ธัญญะ วงศ์นาค (เสี่ยแมน)
สมชาย เขาขึ้นหิ้ง ()
อนุสรณ์ พานิช ()
พ.ศ. 2546 - 2556 ช่อง 3 อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี
เสน่ห์กีฬา วันเสาร์-วันอาทิตย์ เวลา 08.40-08.45 น. พ.ศ. 2549 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ช่อง 3 สปอร์ตทิปส์
ศึกมวยดีวิถีไทย
เดิมอยู่ช่อง 11 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2554-25 มีนาคม พ.ศ. 2562)
ช่อง ช่อง 3 เอสดี (28) (1 เมษายน พ.ศ. 2561-4 สิงหาคม พ.ศ. 2562)
ช่อง GMM25 (11 สิงหาคม พ.ศ. 2562-19 ธันวาคม พ.ศ. 2563)
ปัจจุบันออกอากาศทางช่อง PPTVHD36 (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564-ปัจจุบัน)
สดทุกวันอาทิตย์ เวลา 12:00-14:00 น. เริ่มวันอาทิตย์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 จนถึงวันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2562 3SD (28)
พีวี อินเตอร์ สปอร์ต
สนามมวยเวทีบลูอารีน่า
ศึกมวยไทยราชดำเนิน
ประดิษฐ์ ดิษฐอำไพ (แจ็ค ธรรมราช)
เชื้อชาย นิลกาญจน์ (นก ตานี)
สดทุกวันพฤหัสบดี เวลา 20:30-22:30 น. 7 มิถุนายน พ.ศ. 2561 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562
3SD (28)
YouTube:TERO DIGITAL
สนามมวยราชดำเนิน
ศึกยอดมวยไทย HILUX REVO นัดสัญจร สดวันพฤหัสบดี เวลา 20:30-22:30 น. พ.ศ. 2559-พ.ศ. 2561 3SD (28) เพชรยินดี บ๊อกซิ่ง โปรโมชั่น
มวยสากลอาชีพ “ดับบลิวบีซี เวิลด์ ฟลายเวต แชมเปี้ยนชิพ” ศึกชิงแชมป์โลก WBC รุ่นฟลายเวต
แม้ทธิว พอล ดีน
ดำรงค์ ต่ายทอง
เชื้อชาย นิลกาญจน์ (นก ตานี)
สัญทชัย ผลคีรินทร์
สดวันเสาร์ เวลา 18:00-20:00 น. 4 มีนาคม พ.ศ. 2560 3HD33
นครหลวง โปรโมชั่น
อาคารกีฬานิมิบุตร
ศึกรีโว่มวยไทย ครั้งที่ 10 ลุมพินีแชมเปี้ยนเกริกไกร สดวันศุกร์ เวลา 20:30-22:30 น. วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 3SD (28)
เพชรยินดี บ๊อกซิ่ง โปรโมชั่น
สนามมวยเวทีลุมพินี
Fairtex Fight มวยมันพันธุ์ EXTREME
ชื่อเดิม : Lumpinee Fairtex Fight
ผู้ดำเนินรายการ
มาร์ก แอ็บบอท
บรรยายภาษาไทย
สุวัฒน์ กลิ่นเกษร (น้าติง)
พินิจ พลขัน (มิสเตอร์ป๋อง
อภิเชษฐ์ พิมพ์เก (หนุ่ย ไดโน)
บรรยายภาษาอังกฤษ
Matthew Ryan
John Wolcott
สดทุกวันเสาร์ เวลา 10:00-12:00 น.
เดิมทุกวันอาทิตย์ เวลา 18:00-20:00 น.
สิ้นสุดการแพร่ภาพออกอากาศเป็นการถาวรอย่างเป็ทางการอย่างแท้จริงเมื่อวันเสาร์ที่10กุมพาพันธ์2567สำหรับเวลาออกอากาศเดิมนำเสนอรายการยอดภาพยนตร์นานาชาติที่ได้นำกลับมาแพร่ภาพออกอากาศเดิมในวันเสาร์อิกครั้งในรอบ2ปีเริ่มวันเสาร์ที่2มีนาคม2567เป็ต้นไป
7HD (35)
YouTube:TERO DIGITAL
YouTube:TERO NEWS
YouTube:Fairtexfight promotion
YouTube:สนามมวย เวทีลุมพินี
Facebook:TERO Entertainment
Facebook:Fairtex Fight Promotion
Facebook:Lumpinee Boxing Stadium
ONE Lumpinee
หรือ ONE Friday Nights
ผู้บรรยายภาษาไทย
อภิเชษฐ์ พิมพ์เก (หนุ่ย ไดโน)
พินิจ พลขัน (มิสเตอร์ป๋อง)
พิธีกรภาคสนามภาษาอังกฤษ
Mitch Chilson
สดทุกวันศุกร์ เวลา 20:30 - 23:00 น.
20 มกราคม พ.ศ.2566-ปัจจุบัน
YouTube:TERO DIGITAL
YouTube:CH7HD
YouTube:ONE Championship
YouTube:สนามมวย เวทีลุมพินี
Facebook:TERO Entertainment
Facebook:ONE Championship Thailand
Facebook:Lumpinee Boxing Stadium
Facebook:CH7HD

รายการสอนภาษาอังกฤษ[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
TALK OF THE TOWN
Andrew Biggs
Captain Pat
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 05.45-06.00 น. พ.ศ. 2541 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 ช่อง 3
อิงลิชมินิทแก็งค์ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 19.59-20.00 น. พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549 ช่อง 3

รายการทายคำถามและคำตอบ[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
เซียนทีวี จตุพล ชมภูนิช ทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.30 น. - 14.30 น. พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2545 ช่อง 3 บางกอกการละคร
ตะลอนเกม ทรงวิทย์ จิรโศภิน
นิลุบล อมรวิทวัส
ทุกวันเสาร์
เวลา 16.15 น. - 17.15 น.
พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2544 ช่อง 3 บางกอกการละคร
The weakest link กำจัดจุดอ่อน ทุกคืนวันพฤหัสบดี เวลา 22.20-23.20 น. 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 - 26 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ช่อง 3 บางกอกการละคร
3 ลุ้นแสน
รวยรายวัน
ดร.กฤษติกา คงสมพงษ์
นักแสดง พิธีกร และผู้ประกาศข่าวของช่อง 3
โน๊ต เชิญยิ้ม
ทุกคืนวันจันทร์-พุธ เวลา 22.40-22.55 น. พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547 ช่อง 3 บางกอกการละคร
Magic Box กล่องวิเศษ ทุกคืนวันพฤหัสบดี เวลา 22.20-23.20 น. 2 มกราคม พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2547 ช่อง 3
ดาวอัจฉริยะ
ฐาวรา สิริพิพัฒน์
วรินทร์ แม็คเบลน
ทุกวันจันทร์ เวลา 16.30-16.55 น. 6 มกราคม พ.ศ. 2546 - 25 กันยายน พ.ศ. 2549 ช่อง 3 บางกอกทีวี
จิ๊กซอว์ จิ๊กแสน ทุกวันศุกร์ เวลา 22.15-22.20 น. พ.ศ. 2547 - 2548 ช่อง 3 บางกอกทีวี
แวนโก๊ะเกม วันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 22.00 - 22.05 นาที พ.ศ. 2547 - 2548 ช่อง 3 บางกอกดราม่า และโต๊ะกลมโทรทัศน์
ลูกใครหว่า ทุกวันพฤหัสบดี-วันศุกร์ เวลา 18.00-19.00 น. พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2548 ช่อง 3
ดีลออร์โนดีล เอาหรือไม่เอา
Deal or No Deal
ทุกวันจันทร์ เวลา 22.20-23.20 น. พ.ศ. 2548 ช่อง 3 เอ็นดิมอล
ไทยแลนด์อะเมซิ่งเกมส์
ไม่ทราบชื่อพิธีกร
ไม่ทราบวันและเวลาออกอากาศ พ.ศ. 2548 ช่อง 3 บางกอกการละคอน
สำราญราษฎร์
ไม่ทราบชื่อพิธีกร
ไม่ทราบวันและเวลาออกอากาศ พ.ศ. 2548 ช่อง 3
ภาษาพารวย
ไม่ทราบชื่อพิธีกร
ไม่ทราบวันและเวลาออกอากาศ พ.ศ. 2548 - 2549 ช่อง 3
ต่อหน้า ต่อตา
ต่อหน้าต่อตา น็อคเอาท์
ทุกวันเสาร์ เวลา 16.45 - 17.15 น. พ.ศ. 2548 - 2549 ช่อง 3
อินเดอะดาร์ค มืดสนิท พิชิตแสน ทุกวันเสาร์ เวลา 13.15-14.00 น. พ.ศ. 2549 ช่อง 3
กูรูเกม ทุกวันอาทิตย์ เวลา 16.30-17.00 น. 6 สิงหาคม - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ช่อง 3
50:50 ทุกวันจันทร์-อังคาร-พุธ เวลา 18.00-18.30 น. เริ่มวันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ช่อง 3
ถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ ป.4!
ถ้าคุณแน่? อย่าแพ้ เด็ก (ประถม)!
วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 19.15 น. - 19.45 น.
วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.45 น. - 19.15 น.
วันพฤหัสบดี - ศุกร์ เวลา 18.00 น. - 18.30 น.
วันพฤหัสบดี เวลา 18.00 น. - 18.30 น.
1 ตุลาคม 2550 - 31 ธันวาคม 2551
1 มกราคม 2552 - 30 ตุลาคม 2552
5 พฤศจิกายน 2552 - 16 เมษายน 2553
22 เมษายน 2553 - 29 เมษายน 2553
ช่อง 3
1 ต่อ 100
1 vs. 100
ทุกวันเสาร์ เวลา 14.15-15.00 น. 5 เมษายน พ.ศ. 2551 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ช่อง 3
จูเนียร์มินิตทูวินอิตไทยแลนด์ ตัวนิด พิชิตล้าน ทุกวันเสาร์ เวลา 17.45-18.45 น. พ.ศ. 2556 - 2557 ช่อง 3 ฟรายเดย์ทีวี (ของประเทศสวีเดน)
ชายด์ อินเตอร์เนชั่นแนล
The Kids Are All Right เด็กอัจฉริยะท้าประลอง ทุกวันอาทิตย์ 9.30-10.00 น. เริ่มวันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 2559 ช่อง 3 เอชดี เอ็นดิมอลชายด์กรุ๊ป
The Eyes ตาอรหัน วันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 17.30-18.00 น. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2564 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ช่อง 7 เอชดี
YouTube:TERO DIGITAL
เอ็มเจ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์

รายการประกวดร้องเพลง[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
น้องรัก นักร้อง วันจันทร์ - พุธ เวลา 17.45 - 18.30 น.
และ เวลา 17.30 - 18.25 น.
26 มกราคม - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ช่อง 3 เอชดี จันทร์ 25
กันตนา เอฟโวลูชั่น

รายการโชว์ความสามารถ[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
ถูกใจ ให้เลย ทุกวันอาทิตย์ เวลา

7.45 - 8.35

7.40 - 8.25

7 ตุลาคม พ.ศ. 2555 - 7 เมษายน พ.ศ. 2556 และ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 28 กันยายน พ.ศ. 2556 ช่อง 3
โตมิโตมาโชว์ดะ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00 - 18.00 น. พ.ศ. 2556 - 2557 3SD28
YouTube:TERO DIGITAL

รายการสัมภาษณ์[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
ลองซักตั้ง ทุกวันอาทิตย์ เวลา 16.30-17.00 น. พ.ศ. 2547 ช่อง 3
เรียกน้ำย่อย ทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ เวลา 18.28-18.30 น. พ.ศ. 2547 - 2548 ช่อง 3
มนุษย์ล้อโลก ทุกวันอาทิตย์ เวลา 07.30-07.45 น. พ.ศ. 2549 ช่อง 3
ดีเบต (โต้เหตุผล ค้นความจริง)
รวมเป็นช่วงหนึ่งของรายการเรื่องเด่นเย็นนี้
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 16.30 - 17.00 น. 1 พฤษภาคม - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ช่อง 3 เอชดี
ควบคู่กับทางออนไลน์
YouTube:TERO DIGITAL
Facebook:TERODigital
ถกไม่เถียง
รวมเป็นช่วงหนึ่งของรายการข่าวเย็นประเด็นร้อน
วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 17.30 - 18.00 น.
เดิมทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 17.00 - 17.30 น. (15 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564)
ทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 17.00 - 18.00 น. (1 กันยายน 2564 - 30 มิถุนายน 2565
ทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 17.00 น. (4 กรกฎาคม 2565 - 2 มิถุนายน 2566)
เดิมทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 17.30 - 18.00 น. (5 มิถุนายน 2566 - 9 ตุลาคม 2566 , 20 พฤศจิกายน 2566 - ปัจจุบัน)
เดิมทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 17.30 - 18.15 น. (10 ตุลาคม 2566 - 17 พฤศจิกายน 2566)
15 มีนาคม พ.ศ. 2564 - ปัจจุบัน ช่อง 7 เอชดี
ควบคู่กับทางออนไลน์
YouTube:TERO DIGITAL
Facebook:TERODigital
Twitter:terodigital
IG:terodigital
TikTok:@terodigital
ถกไม่เถียง weekend วันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 17.30 - 18.00 น. 6 มกราคม พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน
ขอกอดหน่อย ทุกวันอาทิตย์ เวลา 12:30 - 13:30 น.
เดิมทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 12.30 - 12.40 น. ( 2 มกราคม - 30 มิถุนายน 2566 )
2 มกราคม พ.ศ. 2566 - 27 สิงหาคม พ.ศ 2566 ช่อง 7 เอชดี
YouTube:TERO DIGITAL
Facebook:TERODigital
Twitter:terodigital
IG:terodigital
TikTok:@terodigital

รายการท่องเที่ยว[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
ลีลามี
ทุกวันอาทิตย์ เวลา 23.00-24.00 น.
ทุกวันอาทิตย์ เวลา 12.00-13.00 น.
ซีซั่น 1 (EP1-238) พ.ศ. 2557 - 22 กันยายน พ.ศ. 2562 (งดการออกอากาศชั่วคราวตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม-13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป 3SD28ได้ประกาศของดการออกอากาศรายการตามโปรแกรมเดิมตามปกติ เนื่องมาจาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช ทำให้มีมติจากคำสั่งของ กสทช. ได้ออกคำสั่งให้งดการออกอากาศรายการที่แสดงถึงความรื่นเริงเป็นระยะเวลา 30 วัน และในปี 2560 ตลอดทั้งเดือนตุลาคมได้งดการออกอากาศละครหรือรายการที่สื่อถึงความบันเทิงรื่นเริงใจเนื่องมาจาก พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่มีขึ้นในระหว่างวันที่ 25 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2560 อันเป็นคำสั่งและแนวทางในการออกอากาศรายการโทรทัศน์รวมไปถึงสื่อโฆษณาต่างๆ ที่ได้รับจากสมาคมมีเดียเอเยนซี่ และธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย จึงทำให้ต้องมีการพักการออกอากาศ)
ซีซั่น 2 (EP.1-24) 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 - 5 เมษายน พ.ศ. 2563;หยุดพักการเดินทางและการออกอากาศชั่วคราวเนื่องมาจากการระบาดทั่วของโควิด-19 (Covid-19) ที่ระบาดไปทั่วโลก จนเกิดเป็นมาตรการนโยบายปิดประเทศ และขอความร่วมมืองดการเดินทางจากทางรัฐบาล
3SD28
YouTube:TERO Variety
YouTube:TERO DIGITAL
YouTube:ลีลาวดี ฮอลิเดย์

AmarinTVHD34
YouTube:Image Corporation
Facebook:รายการลีลามี leelame
Line TV:leelame
บริษัท อิมเมจ คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จำกัด
หนุ่มแท่งอารามทัวร์ วันเสาร์ เวลา 13.00-14.00 น. 6 มกราคม พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน ช่อง 7 เอชดี ดีด็อคสตูดิโอส์

รายการตลก[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
เรื่อง(ไม่)เป็นเรื่อง จตุพล ชมภูนิช วันอาทิตย์ เวลา 22.20-23.20 น. พ.ศ.2545 ช่อง 3 บางกอกการละคอน
Joker Variety วาไรตี้ จี้เส้น บอล เชิญยิ้ม
ค่อม ชวนชื่น
บริบูรณ์ จันทร์เรือง
โรเบิร์ต สายควัน
โย่ง เชิญยิ้ม
จิ้ม ชวนชื่น
วันจันทร์-วันพุธ เวลา 13.15-13.40 น. 7 มกราคม พ.ศ. 2559 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2561
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:TERO DIGITAL
พระราม 4 คาเฟ่
พระราม 4 ซันเดย์
บอล เชิญยิ้ม
ค่อม ชวนชื่น
บริบูรณ์ จันทร์เรือง
เจี๊ยบ เชิญยิ้ม
วันพฤหัสบดี เวลา 23.20-00.30 น.
และ วันอาทิตย์ เวลา 16.00-17.00 น.
21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 - 18 กันยายน พ.ศ. 2559
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:TERO DIGITAL
โกดังมหาสนุก บอล เชิญยิ้ม
ค่อม ชวนชื่น
บริบูรณ์ จันทร์เรือง
โรเบิร์ต สายควัน
เจี๊ยบ เชิญยิ้ม
โย่ง เชิญยิ้ม
วันจันทร์-วันพุธ เวลา 12:15-12:40 น. 20 มีนาคม พ.ศ. 2561 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ช่อง 3 เอชดี
YouTube:TERO DIGITAL
ขบวนการซ่า ฮายกล้อ วันอาทิตย์ เวลา 12.45-13.30 น. 14 กุมภาพันธ์ - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
ช่อง 7 เอชดี
Website:BUGABOO.TV

รายการเตือนภัย[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
108 ภัยหญิง ทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ เวลา 18.25-18.27 น. พ.ศ. 2545 - 2549 ช่อง 3 บริษัท เซิร์ช เอ็นเตอร์เทน​เม้นท์ จำกัด
ฆ่าโง่ ทุกวันเสาร์ เวลา 12.05 - 13.00 น. 3 มกราคม พ.ศ. 2565 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2566
ช่อง 7HD (35) YouTube:TERO DIGITAL

รายการการ์ตูน[แก้]

ชื่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
การ์ตูนดังสุดสัปดาห์ วันเสาร์ เวลา 07.00-08.00 น.
วันอาทิตย์ เวลา 07.00-07.55 น.
3 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 - ปัจจุบัน ช่อง 7 เอชดี

รายการเด็ก[แก้]

ชี่อ พิธีกร วันและเวลา วันที่ ออกอากาศ ผลิตร่วมกับ
FUN 4 ทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 06.30 - 07.00 น. พ.ศ. 2546 ช่อง 3
อมยิ้ม ทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.30 - 16.00 น. 13 ตุลาคม พ.ศ 2553 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2559 ช่อง 3 เอชดี
ครอบครัวข่าวเด็ก
ปัณณสิษฐ์ จิวะพงศ์
ปาณิศรา ทรัพย์ชาตอนันต์
ธฤตตะวัน เจริญสุข
ชินพรรธน์ กิติชัยวรางค์กูร
ทุกวัน จันทร์-ศุกร์ เวลา 05.35 - 05.45 น. และ ทุกเสาร์ 05.35 - 06.00 น. 20 มิถุนายน พ.ศ 2555 - 24 กันยายน พ.ศ. 2560 ช่อง 3 เอชดี

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 เกี่ยวกับเรา ในเว็บไซต์ของเทโรฯ
  2. "ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสโมสรบีอีซี-เทโร ศาสน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-03-16.
  3. 3.0 3.1 3.2 โครงสร้างกลุ่มบริษัท บีอีซีเวิลด์ เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จากเว็บไซต์ของบีอีซีเวิลด์
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 เกี่ยวกับเรา เก็บถาวร 2015-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ในเว็บไซต์ บีอีซี-เทโร ทรูวิชันส์ เก็บถาวร 2015-05-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. "ช่อง 3 ตัดสินใจขาย "บีอีซี-เทโร" ทั้งหมดให้กับ "ไบร์อัน ลินด์เซ มาร์การ์" ในราคา 15 ล้านบาท". ส่องสื่อ. 8 ธันวาคม 2563. สืบค้นเมื่อ 9 ธันวาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  6. "ไบรอัน มาร์การ์ ซบ "กฤตย์" นายใหญ่ 7 สี ร่วมบริหาร "แม็ทชิ่ง" ลุยธุรกิจเอ็นเตอร์เทน". TV Digital Watch. 2021-01-16. สืบค้นเมื่อ 2021-02-23.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. "เทโรฯ โร่ซบบ้านใหม่ช่อง 7 ใต้ปีก "กฤต รัตนรักษ์"". TV Digital Watch. 2021-02-15. สืบค้นเมื่อ 2021-02-23.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. เกี่ยวกับเรา ในเว็บไซต์ เทโร เรดิโอ
  9. เกี่ยวกับเรา ในเว็บไซต์ ไทยทิคเก็ตเมเจอร์
  10. อังเคิล ปิดฟิล์มบางกอก หลังทำภาพยนตร์หลายเรื่องแล้วเจ๊ง, 2 ตุลาคม 2546, สยามโซนดอตคอม.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]