ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช่อง 3 แฟมิลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
นำภาพ "Ch.3_Family.png" ออก ซึ่งถูกลบที่วิกิมีเดียคอมมอนส์โดย EugeneZelenko เนื่องจาก c:Commons:Licensing: non-trivial logo
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงการใช้ภาษาเล็กน้อย
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
}}
}}


'''ช่อง 3 แฟมิลี''' ({{lang-en|Channel 3 Family}}) เป็นช่อง[[โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย|โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล]] กลุ่มบริการทางธุรกิจระดับชาติประเภทรายการเด็ก เยาวชน และครอบครัว ซึ่งบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด เป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจาก [[กสทช.]] เริ่มออกอากาศเป็นปฐมทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2557 โดยกำหนดสัดส่วนผังรายการออกเป็น ประเภทเด็กและครอบครัว 75% ประเภทข่าวสารและสาระ 25% ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาจากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์และละครชุดใน[[ภาษาจีน]], [[ภาษาเกาหลี]] และ[[ภาษาอังกฤษ]]เป็นสำคัญ ร่วมกับเนื้อหาของผู้ผลิตสัญชาติไทย เช่นบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ทีวีธันเดอร์ จำกัด, บริษัท บรอดคาสต์ไทยเทเลวิชัน จำกัด, อาร์แอลจี, มาร์กอินมีเดีย เป็นต้น โดยมีเนื้อหามุ่งไปที่ กลุ่มเด็ก
'''ช่อง 3 แฟมิลี''' ({{lang-en|Channel 3 Family}}) เป็นช่อง[[โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย|โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล]] กลุ่มบริการทางธุรกิจระดับชาติประเภทรายการเด็ก เยาวชน และครอบครัวในอดีต ซึ่งบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด เป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจาก [[กสทช.]] เริ่มออกอากาศเป็นปฐมทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2557 โดยกำหนดสัดส่วนผังรายการออกเป็น ประเภทเด็กและครอบครัว 75% ประเภทข่าวสารและสาระ 25% ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาจากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์และละครชุดใน[[ภาษาจีน]], [[ภาษาเกาหลี]] และ[[ภาษาอังกฤษ]]เป็นสำคัญ ร่วมกับเนื้อหาของผู้ผลิตสัญชาติไทย เช่นบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ทีวีธันเดอร์ จำกัด, บริษัท บรอดคาสต์ไทยเทเลวิชัน จำกัด, อาร์แอลจี, มาร์กอินมีเดีย เป็นต้น โดยมีเนื้อหามุ่งไปที่กลุ่มเด็ก


ช่อง 3 Family ประมูลมาด้วยมูลค่า 666 ล้านบาท ตลอดช่วง 5 ปีทำรายได้รวม 636 ล้านบาท เรตติ้งดีที่สุด 0.083 ในปี 2558 และต่ำสุด 0.012 ปี 2557<ref>{{cite web|url=https://positioningmag.com/1247989?fbclid=IwAR0ZY3-ZRgCR6wJWPKiyo08XLM-pKAkM8DV6VhTEJAJNBV6FI91JVjSYAjQ|title=2 ช่องสุดท้ายบีอีซี “ลาจอ” กสทช. สรุป 5 ปี “ทีวีดิจิทัล” ปิดฉาก 9 ช่อง “เลิกจ้าง” กระทบคนสื่อ-ครอบครัวเกือบ 15,000 คน|work=โพซิชันนิงแมก|date=30 กันยายน 2562|access-date=30 กันยายน 2562}}</ref>
ช่อง 3 Family ประมูลมาด้วยมูลค่า 666 ล้านบาท ตลอดช่วง 5 ปีทำรายได้รวม 636 ล้านบาท เรตติ้งดีที่สุด 0.083 ในปี 2558 และต่ำสุด 0.012 ปี 2557<ref>{{cite web|url=https://positioningmag.com/1247989?fbclid=IwAR0ZY3-ZRgCR6wJWPKiyo08XLM-pKAkM8DV6VhTEJAJNBV6FI91JVjSYAjQ|title=2 ช่องสุดท้ายบีอีซี “ลาจอ” กสทช. สรุป 5 ปี “ทีวีดิจิทัล” ปิดฉาก 9 ช่อง “เลิกจ้าง” กระทบคนสื่อ-ครอบครัวเกือบ 15,000 คน|work=โพซิชันนิงแมก|date=30 กันยายน 2562|access-date=30 กันยายน 2562}}</ref>


== การขอคืนใบอนุญาต ==
== การขอคืนใบอนุญาต ==
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ได้ส่งหนังสือแจ้งกรรมการผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่าคณะกรรมการของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) มีมติให้บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ที่ได้รับใบอนุญาตและดำเนินการออกอากาศ[[ช่อง 3 เอสดี|ช่อง 3 SD]] และช่อง 3 Family แจ้งความประสงค์ต่อสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เพื่อขอคืนใบอนุญาตออกอากาศโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยได้ระบุเหตุผลว่าอุตสาหกรรมโฆษณาทางโทรทัศน์และพฤติกรรมผู้บริโภคมีความเปลี่ยนแปลง จึงให้บีอีซี-มัลติมีเดียคืนใบอนุญาตเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการแข่งขัน<ref> [http://www.set.or.th/set/newsdetails.do?newsId=15574443129131&language=th&country=TH แจ้งมติอนุมัติให้บริษัทย่อยคืนใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ] </ref> และถูกยุบรวมกับ [[ช่อง 3 เอชดี|ช่อง 3 HD]] ในวันที่ 30 กันยายน 2562 (งดออกอากาศ) (ยุติออกอากาศ)
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ได้ส่งหนังสือแจ้งกรรมการผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่าคณะกรรมการของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) มีมติให้บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ที่ได้รับใบอนุญาตและดำเนินการออกอากาศ[[ช่อง 3 เอสดี]] และช่อง 3 Family แจ้งความประสงค์ต่อสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เพื่อขอคืนใบอนุญาตออกอากาศโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยได้ระบุเหตุผลว่าอุตสาหกรรมโฆษณาทางโทรทัศน์และพฤติกรรมผู้บริโภคมีความเปลี่ยนแปลง จึงให้บีอีซี-มัลติมีเดียคืนใบอนุญาตเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการแข่งขัน<ref> [http://www.set.or.th/set/newsdetails.do?newsId=15574443129131&language=th&country=TH แจ้งมติอนุมัติให้บริษัทย่อยคืนใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ] </ref>


ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2562 ช่อง 3 Family และ[[ช่อง 3 เอสดี]] ได้ยุติการออกอากาศ หลังจากที่ยุติการออกอากาศแล้ว การดำเนินงานและการผลิตรายการต่าง ๆ ได้ถูกควบรวมกับ[[ช่อง 3 เอชดี]] ซึ่งได้รับใบอนุญาตโดยบริษัทเดียวกันที่ยังออกอากาศอยู่
== ลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดสดกีฬาทางช่อง 3 Family ==

== ลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดสดกีฬา ==
* [[ตะกร้อไทยแลนด์ลีก|เซปักตะกร้อ ไทยแลนด์ลีก]] ฤดูกาล 2559, 2560
* [[ตะกร้อไทยแลนด์ลีก|เซปักตะกร้อ ไทยแลนด์ลีก]] ฤดูกาล 2559, 2560
* [[ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป]] (ถือลิขสิทธิ์ร่วมกับ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่)
* [[ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนยุโรป]] (ถือลิขสิทธิ์ร่วมกับ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:19, 12 ธันวาคม 2563

ช่อง 3 แฟมิลี
ประเทศไทย ไทย
พื้นที่แพร่ภาพไทย ประเทศไทย
เครือข่ายช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล
ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ
สำนักงานใหญ่3199 อาคารมาลีนนท์ ทาวเวอร์
ถนนพระรามที่ 4 แขวงคลองตัน
เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
แบบรายการ
ระบบภาพ576i (16:9 คมชัดปกติ)
ความเป็นเจ้าของ
เจ้าของช่อง 3 HD
บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด
บุคลากรหลักวิชัย มาลีนนท์
ประสาร มาลีนนท์
ประวิทย์ มาลีนนท์
ช่องรองช่อง 3 HD
ช่อง 3 SD
ประวัติ
เริ่มออกอากาศ25 เมษายน 2557
ยุติออกอากาศ30 กันยายน 2562
(5 ปี 158 วัน)
ลิงก์
เว็บไซต์www.ch3thailand.com
ออกอากาศ
ภาคพื้นดิน
ดิจิทัลช่อง 13 (มักซ์#4 : ส.ส.ท.)
เคเบิลทีวี
ช่อง 13
ทีวีดาวเทียม
ทรูวิชั่นส์ช่อง 13
สื่อสตรีมมิง
Ch3Thailandชมรายการสด

ช่อง 3 แฟมิลี (อังกฤษ: Channel 3 Family) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล กลุ่มบริการทางธุรกิจระดับชาติประเภทรายการเด็ก เยาวชน และครอบครัวในอดีต ซึ่งบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด เป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจาก กสทช. เริ่มออกอากาศเป็นปฐมทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2557 โดยกำหนดสัดส่วนผังรายการออกเป็น ประเภทเด็กและครอบครัว 75% ประเภทข่าวสารและสาระ 25% ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาจากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์และละครชุดในภาษาจีน, ภาษาเกาหลี และภาษาอังกฤษเป็นสำคัญ ร่วมกับเนื้อหาของผู้ผลิตสัญชาติไทย เช่นบริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน), บริษัท ทีวีธันเดอร์ จำกัด, บริษัท บรอดคาสต์ไทยเทเลวิชัน จำกัด, อาร์แอลจี, มาร์กอินมีเดีย เป็นต้น โดยมีเนื้อหามุ่งไปที่กลุ่มเด็ก

ช่อง 3 Family ประมูลมาด้วยมูลค่า 666 ล้านบาท ตลอดช่วง 5 ปีทำรายได้รวม 636 ล้านบาท เรตติ้งดีที่สุด 0.083 ในปี 2558 และต่ำสุด 0.012 ปี 2557[1]

การขอคืนใบอนุญาต

เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ได้ส่งหนังสือแจ้งกรรมการผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่าคณะกรรมการของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) มีมติให้บริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ที่ได้รับใบอนุญาตและดำเนินการออกอากาศช่อง 3 เอสดี และช่อง 3 Family แจ้งความประสงค์ต่อสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เพื่อขอคืนใบอนุญาตออกอากาศโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยได้ระบุเหตุผลว่าอุตสาหกรรมโฆษณาทางโทรทัศน์และพฤติกรรมผู้บริโภคมีความเปลี่ยนแปลง จึงให้บีอีซี-มัลติมีเดียคืนใบอนุญาตเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการแข่งขัน[2]

ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2562 ช่อง 3 Family และช่อง 3 เอสดี ได้ยุติการออกอากาศ หลังจากที่ยุติการออกอากาศแล้ว การดำเนินงานและการผลิตรายการต่าง ๆ ได้ถูกควบรวมกับช่อง 3 เอชดี ซึ่งได้รับใบอนุญาตโดยบริษัทเดียวกันที่ยังออกอากาศอยู่

ลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดสดกีฬา

รายการข่าวที่เคยออกอากาศ

  • ข่าวในพระราชสำนัก - (ดึงสัญญาณจากช่อง 3 HD)
  • คัดข่าวดี
  • ครอบครัวข่าวเช้า
  • ข่าวสั้น 13
  • เที่ยงเปิดประเด็น
  • ค่ำทันข่าว

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "2 ช่องสุดท้ายบีอีซี "ลาจอ" กสทช. สรุป 5 ปี "ทีวีดิจิทัล" ปิดฉาก 9 ช่อง "เลิกจ้าง" กระทบคนสื่อ-ครอบครัวเกือบ 15,000 คน". โพซิชันนิงแมก. 30 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. แจ้งมติอนุมัติให้บริษัทย่อยคืนใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ

แหล่งข้อมูลอื่น