ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 142: บรรทัด 142:
|-
|-
| valign = "top" | 6. [[ไมตรี อินทุสุต|นาย ไมตรี อินทุสุต]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00169756.PDF</ref>
| valign = "top" | 6. [[ไมตรี อินทุสุต|นาย ไมตรี อินทุสุต]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2548/00169756.PDF</ref>
| valign = "top" | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน
| valign = "top" | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560
|-
|-
| valign = "top" | 7. [[พุฒิพัฒน์ เลิศเชาวสิทธิ์|นาย พุฒิพัฒน์ เลิศเชาวสิทธิ์]]<ref></ref>
| valign = "top" | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:52, 29 กันยายน 2560

ราชอาณาจักรไทย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ตราพระประชาบดี
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้งพ.ศ. 2545
เขตอำนาจทั่วราชอาณาจักร ไทย
สำนักงานใหญ่1034 ถนนกรุงเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
งบประมาณประจำปี10,078.1627 ล้านบาท (พ.ศ. 2559)[1]
รัฐมนตรี
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
หน่วยงานลูกสังกัด
เว็บไซต์M-SOCIETY.go.th

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อังกฤษ: Ministry of Social Development and Human Security) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน

ประวัติ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 [5] ในสมัยรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีสำนักงานที่ตั้งอยู่ที่วังสะพานขาว ซึ่งอดีตเคยเป็นตำหนักที่ประทับของกรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

หน่วยงานในสังกัด

ส่วนราชการ

ส่วนราชการประจำจังหวัด

  • สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด

รัฐวิสาหกิจ

องค์กรมหาชน

รายนามปลัดกระทรวง

รายนาม วาระการดำรงตำแหน่ง
1. นางผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2545 - 30 กันยายน พ.ศ. 2546
2. นายอภัย จันทนจุลกะ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
3. นายวัลลภ พลอยทับทิม 4 มิถุนายน พ.ศ. 2547 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
4. นางพนิตา กำภู ณ อยุธยา 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 - 13 มีนาคม พ.ศ. 2555
5. นาย วิเชียร ชวลิต[6] 13 มีนาคม พ.ศ. 2555 - 30 กันยายน พ.ศ. 2558
6. นาย ไมตรี อินทุสุต[7] 2 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2560
7. นาย พุฒิพัฒน์ เลิศเชาวสิทธิ์อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง อ้างอิงที่ไม่มีชื่อต้องมีเนื้อหา 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น