ข้ามไปเนื้อหา

เขตเศรษฐกิจจำเพาะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก EEZ)
เขตเศรษฐกิจจำเพาะของโลก แสดงเป็นสีน้ำเงินเข้ม

เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (อังกฤษ: exclusive economic zone; EEZ) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เป็นพื้นที่ทะเลซึ่งรัฐมีสิทธิพิเศษเหนือเขตดังกล่าวในการสำรวจและใช้ทรัพยากรทางทะเล รวมถึงการผลิตพลังงานจากน้ำและลม[1] เขตเศรษฐกิจจำเพาะครอบคลุมพื้นที่ถัดจากอาณาเขตบนฝั่งไปสองร้อยไมล์ทะเล ในการใช้คำดังกล่าวบางครั้ง อาจรวมถึงน่านน้ำอาณาเขตและไหล่ทวีปที่เลยเขตจำกัด 200 ไมล์ทะเลไปด้วย

การจำกัดความ

[แก้]
พื้นที่แสดงเขตเศรษฐกิจจำเพาะ

โดยทั่วไปแล้ว เขตเศรษฐกิจจำเพาะของรัฐกินอาณาบริเวณ 200 ไมล์ทะเล (370 กิโลเมตร) นับจากเส้นฐานชายฝั่ง ข้อยกเว้นต่อกฎดังกล่าวคือ เมื่อเขตเศรษฐกิจจำเพาะทับซ้อนกัน นั่นคือ เส้นฐานชายฝั่งของประเทศสองประเทศที่อยู่ห่างจากกันไม่เกิน 400 ไมล์ทะเล (740 กิโลเมตร) เมื่อเกิดการทับซ้อนกันขึ้น ก็ขึ้นอยู่กับการกำหนดพรมแดนทางทะเลที่แท้จริงของทั้งสองประเทศเอง โดยทั่วไปแล้ว ทุกจุดภายในพื้นที่ทับซ้อนมักจะเป็นสิทธิ์ของรัฐที่อยู่ใกล้ที่สุด

เขตเศรษฐกิจจำเพาะของรัฐเริ่มตั้งแต่ปลายของเขตน่านน้ำและลากออกไปเป็นระยะทาง 200 ไมล์ทะเลจากฐานชายฝั่ง และเขตเศรษฐกิจจำเพาะยังรวมไปถึงพื้นที่ที่อยู่ใกล้กัน รัฐยังมีสิทธิ์เหนือพื้นดินใต้ทะเลของสิ่งที่เรียกว่าไหล่ทวีปไปถึง 350 ไมล์ทะเล (648 กิโลเมตร) นับจากเส้นฐานชายฝั่ง ถัดจากเขตเศรษฐกิจจำเพาะออกไปอีก แต่พื้นที่ที่รวมด้วยนี้มิใช่ส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจำเพาะ คำจำกัดความทางกฎหมายของไหล่ทวีป ไม่เหมือนกันกับความหมายทางภูมิศาสตร์โดยตรง เพราะมันยังรวมไปถึงส่วนทวีปที่นูนขึ้นและพื้นที่ลาดเอียง และพื้นดินใต้ทะเลภายในเขตเศรษฐกิจจำเพาะด้วย

อันดับตามพื้นที่

[แก้]
ประเทศที่มีเขตเศรษฐกิจจำเพาะที่มากที่สุด

รายการนี้รวมถึงดินแดนในภาวะพึ่งพิง (รวมถึงดินแดนที่ไม่มีคนอาศัยอยู่) ภายในรัฐของพวกเขา แต่ไม่รวมการอ้างสิทธิ์ต่าง ๆในแอนตาร์กติกา โดยตัวอักษร EEZ+TIA คือ เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (EEZ) รวมกับ พื้นที่ภายในทั้งหมด (TIA) ซึ่งรวมถึงแผ่นดินอาณาเขตและน่านน้ำภายใน

อันดับ ประเทศ EEZ (ตร.กม.)[2] Shelf (ตร.กม.) EEZ+TIA (ตร.กม.)
1  ฝรั่งเศส[หมายเหตุ 1] 11,691,000 730,745 12,366,417
2  สหรัฐ[หมายเหตุ 2] 11,351,000 2,193,526 21,814,306
3  ออสเตรเลีย[หมายเหตุ 3] 8,505,348 2,194,008 16,197,464
4  รัสเซีย 7,566,673 3,817,843 24,664,915
5 United Kingdom[หมายเหตุ 4] 6,805,586 872,891 7,048,486
6  อินโดนีเซีย 6,159,032 2,039,381 8,063,601
7  แคนาดา 5,599,077 2,644,795 15,607,077
8  ญี่ปุ่น 4,479,388 214,976 4,857,318
9 New Zealand[หมายเหตุ 5] 4,420,565[3][4][5] 272,898[3][4][5] 4,688,285[6][7]
10  บราซิล 3,830,955 774,563 12,345,832
11  ชิลี 3,681,989 252,947 4,431,381
12  คิริบาส 3,441,810 7,523 3,442,536
13  เม็กซิโก 3,269,386 419,102 5,141,968
14  ไมโครนีเชีย 2,996,419 19,403 2,997,121
15 Denmark[หมายเหตุ 6] 2,551,238 495,657 4,761,811
16  ปาปัวนิวกินี 2,402,288 191,256 2,865,128
17  นอร์เวย์[หมายเหตุ 7] 2,385,178 434,020 2,770,404
18  อินเดีย 2,305,143 402,996 5,592,406
19  หมู่เกาะมาร์แชลล์ 1,990,530 18,411 1,990,711
 หมู่เกาะคุก[หมายเหตุ 8] 1,960,027 1,213 1,960,267
20  โปรตุเกส[หมายเหตุ 9] 1,727,408 28,000 1,819,498
21  ฟิลิปปินส์ 1,590,780 272,921 1,890,780
22  หมู่เกาะโซโลมอน 1,589,477 36,282 1,618,373
23  แอฟริกาใต้ 1,535,538 156,337 2,756,575
24  เซเชลส์ 1,336,559 39,063 1,337,014
25  มอริเชียส 1,284,997 29,061 1,287,037
26  ฟีจี 1,282,978 47,705 1,301,250
27  มาดากัสการ์ 1,225,259 101,505 1,812,300
28  อาร์เจนตินา 1,159,063 856,346 3,939,463[8]
29  เอกวาดอร์ 1,077,231 41,034 1,333,600
30  สเปน 1,039,233 77,920 1,545,225
31  มัลดีฟส์ 923,322 34,538 923,622
32  เปรู 906,454 82,000 2,191,670
33  จีน 877,019 231,340 10,473,980
34  โซมาเลีย 825,052 55,895 1,462,709
35  โคลอมเบีย 808,158 53,691 1,949,906
36  กาบูเวร์ดี 800,561 5,591 804,594
37  ไอซ์แลนด์ 751,345 108,015 854,345
38  ตูวาลู 749,790 3,575 749,816
39  วานูวาตู 663,251 11,483 675,440
40  ตองงา 659,558 8,517 660,305
41  บาฮามาส 654,715 106,323 668,658
42  ปาเลา 603,978 2,837 604,437
43  โมซัมบิก 578,986 94,212 1,380,576
44  โมร็อกโก 575,230 115,157 1,287,780
45  คอสตาริกา 574,725 19,585 625,825
46  นามิเบีย 564,748 86,698 1,388,864
47  เยเมน 552,669 59,229 1,080,637
48  อิตาลี 541,915 116,834 843,251
49  โอมาน 533,180 59,071 842,680
50  พม่า 532,775 220,332 1,209,353
51  ศรีลังกา 532,619 32,453 598,229
52  แองโกลา 518,433 48,092 1,765,133
53  กรีซ 505,572 81,451 637,529
54  เกาหลีใต้ 475,469 342,522 575,469
55  เวเนซุเอลา 471,507 98,500 1,387,950
56  เวียดนาม 417,663 365,198 748,875
57  ไอร์แลนด์ 410,310 139,935 480,583
58  ลิเบีย 351,589 64,763 2,111,129
59  คิวบา 350,751 61,525 460,637
60  ปานามา 335,646 53,404 411,163
61  มาเลเซีย 334,671 323,412 665,474
 นีวเว[หมายเหตุ 8] 316,584 284 316,844
62  นาอูรู 308,480 41 308,501
63  อิเควทอเรียลกินี 303,509 7,820 331,560
64  ไทย 299,397 230,063 812,517
65  ปากีสถาน 290,000 51,383 1,117,911
66  อียิปต์ 263,451 61,591 1,265,451
67  ตุรกี 261,654 56,093 1,045,216
68  จาเมกา 258,137 9,802 269,128
69  สาธารณรัฐโดมินิกัน 255,898 10,738 304,569
70  ไลบีเรีย 249,734 17,715 361,103
71  ฮอนดูรัส 249,542 68,718 362,034
72  แทนซาเนีย 241,888 25,611 1,186,975
73  กานา 235,349 22,502 473,888
74  ซาอุดีอาระเบีย 228,633 107,249 2,378,323
75  ไนจีเรีย 217,313 42,285 1,141,081
76  เซียร์ราลีโอน 215,611 28,625 287,351
77  กาบอง 202,790 35,020 470,458
78  บาร์เบโดส 186,898 426 187,328
79  โกตดิวัวร์ 176,254 10,175 498,717
80  อิหร่าน 168,718 118,693 1,797,468
81  มอริเตเนีย 165,338 31,662 1,190,858
82  คอโมโรส 163,752 1,526 165,987
83  สวีเดน 160,885 154,604 602,255
84  เซเนกัล 158,861 23,092 355,583
85 Netherlands[หมายเหตุ 10] 154,011 77,246 192,345
86  ยูเครน 147,318 79,142 750,818
87  อุรุกวัย 142,166 75,327 318,381
88  กายอานา 137,765 50,578 352,734
89  เซาตูแมอีปริงซีป 131,397 1,902 132,361
90  ซามัว 127,950 2,087 130,781
91  ซูรินาม 127,772 53,631 291,592
92  เฮติ 126,760 6,683 154,510
93  แอลจีเรีย 126,353 9,985 2,508,094
94  นิการากัว 123,881 70,874 254,254
95  กินี-บิสเซา 123,725 39,339 159,850
96  บังกลาเทศ 118,813 66,438 230,390
97  เคนยา 116,942 11,073 697,309
98  กัวเตมาลา 114,170 14,422 223,059
99  เกาหลีเหนือ 113,888[9][10] 50,337[9][10] 234,428[11]
100  แอนทีกาและบาร์บิวดา 110,089 4,128 110,531
101  ตูนิเซีย 101,857 67,126 265,467
102  ไซปรัส 98,707 4,042 107,958
103  เอลซัลวาดอร์ 90,962 16,852 112,003
104  ฟินแลนด์[หมายเหตุ 11] 87,171 85,109 425,590
105  สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) 83,231 43,016 119,419
106  เอริเทรีย 77,728 61,817 195,328
107  ตรินิแดดและโตเบโก 74,199 25,284 79,329
108  ติมอร์-เลสเต 70,326 25,648 85,200
109  ซูดาน 68,148 19,827 1,954,216
110  กัมพูชา 62,515 62,515 243,550
111  กินี 59,426 44,755 305,283
112  โครเอเชีย 59,032 50,277 115,626
113  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 58,218 57,474 141,818
114  เยอรมนี 57,485 57,485 414,599
115  มอลตา 54,823 5,301 55,139
116  เอสโตเนีย 36,992 36,992 82,219
117  เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 36,302 1,561 36,691
118  เบลีซ 35,351 13,178 58,317
119  บัลแกเรีย 34,307 10,426 145,186
120  เบนิน 33,221 2,721 145,843
121  กาตาร์ 31,590 31,590 43,176
122  สาธารณรัฐคองโก 31,017 7,982 373,017
123  โปแลนด์ 29,797 29,797 342,482
124  ดอมินีกา 28,985 659 29,736
125  ลัตเวีย 28,452 27,772 93,011
126  กรีเนดา 27,426 2,237 27,770
127  อิสราเอล 26,352 3,745 48,424
128  โรมาเนีย 23,627 19,303 262,018
129  แกมเบีย 23,112 5,581 34,407
130  จอร์เจีย 21,946 3,243 91,646
131  เลบานอน 19,516 1,067 29,968
132  แคเมอรูน 16,547 11,420 491,989
133  เซนต์ลูเชีย 15,617 544 16,156
134  แอลเบเนีย 13,691 6,979 42,439
135  โตโก 12,045 1,265 68,830
136  คูเวต 11,026 11,026 28,844
137  ซีเรีย 10,503 1,085 195,683
138  บาห์เรน 10,225 10,225 10,975
139  บรูไน 10,090 8,509 15,855
140  เซนต์คิตส์และเนวิส 9,974 653 10,235
141  มอนเตเนโกร 7,745 3,896 21,557
142  จิบูตี 7,459 3,187 30,659
143  ลิทัวเนีย 7,031 7,031 72,331
144  เบลเยียม 3,447 3,447 33,975
145  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 1,606 1,593 2,346,464
146  สิงคโปร์ 1,067 1,067 1,772
147  อิรัก 771 771 439,088
148  โมนาโก 288 2 290
149  ปาเลสไตน์ 256 256 6,276
150  สโลวีเนีย 220 220 20,493
151  จอร์แดน 166 59 89,508
152  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 50 50 51,259
 คาซัคสถาน 2,724,900
 มองโกเลีย 1,564,100
 ชาด 1,284,000
 ไนเจอร์ 1,267,000
 มาลี 1,240,192
 เอธิโอเปีย 1,104,300
 โบลิเวีย 1,098,581
 แซมเบีย 752,612
 อัฟกานิสถาน 652,090
 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง 622,984
 ซูดานใต้ 619,745
 บอตสวานา 582,000
 เติร์กเมนิสถาน 488,100
 อุซเบกิสถาน 447,400
 ปารากวัย 406,752
 ซิมบับเว 390,757
 บูร์กินาฟาโซ 274,222
 ยูกันดา 241,038
 ลาว 236,800
 เบลารุส 207,600
 คีร์กีซสถาน 199,951
 เนปาล 147,181
 ทาจิกิสถาน 143,100
 มาลาวี 118,484
 ฮังการี 93,028
 อาเซอร์ไบจาน 86,600
 ออสเตรีย 83,871
 เช็กเกีย 78,867
 เซอร์เบีย 77,474
 สโลวาเกีย 49,035
 สวิตเซอร์แลนด์ 41,284
 ภูฏาน 38,394
 มอลโดวา 33,846
 เลโซโท 30,355
 อาร์มีเนีย 29,743
 บุรุนดี 27,834
 รวันดา 26,338
 มาซิโดเนียเหนือ 25,713
 เอสวาตินี 17,364
 คอซอวอ[a] 10,887
 ลักเซมเบิร์ก 2,586
 อันดอร์รา 468
 ลีชเทินชไตน์ 160
 ซานมารีโน 61
 นครรัฐวาติกัน 0.44
ทั้งหมด  สหประชาชาติ 137,926,515 25,149,113 274,891,722

รายชื่อเขตเศรษฐกิจจำเพาะ

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. Comprising Metropolitan France and Overseas France.
  2. Including Palmyra Atoll and 12 unincorporated territories of the United States. The source does not provide any data for Navassa Island.
  3. Including 6 Australian external territories.
  4. Comprising the United Kingdom, 3 Crown dependencies and 12 British Overseas Territories. The source does not provide any data for the Sovereign Base Areas of Akrotiri and Dhekelia.
  5. Comprising New Zealand proper and Tokelau. The Cook Islands and Niue are listed separately due to their full treaty-making capacities within the United Nations System.
  6. Comprising Denmark proper, the Faroe Islands, and Greenland.
  7. Including Bouvet Island, Jan Mayen, and Svalbard.
  8. 8.0 8.1 A part of the Realm of New Zealand, listed separately due to its full treaty-making capacity within the United Nations System.
  9. Comprising Continental Portugal, the Azores, and Madeira.
  10. Comprising the European Netherlands and the Dutch Caribbean.
  11. Including Åland
a. ^ คอซอวอเป็นดินแดนข้อพิพาทระหว่างสาธารณรัฐคอซอวอกับสาธารณรัฐเซอร์เบีย สาธารณรัฐคอซอวอประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 แต่เซอร์เบียยังคงอ้างว่าคอซอวอเป็นดินแดนอธิปไตยของตน ใน พ.ศ. 2556 ทั้งสองรัฐบาลเริ่มกระชับความสัมพันธ์ให้เป็นปกติในฐานะส่วนหนึ่งของข้อตกลงบรัสเซลส์ ปัจจุบันคอซอวอได้รับการยอมรับว่าเป็นรัฐเอกราชจากประเทศสมาชิกสหประชาชาติ 98 ชาติจาก 193 ชาติ


อ้างอิง

[แก้]
  1. "Part V – Exclusive Economic Zone, Article 56". Law of the Sea. United Nations. สืบค้นเมื่อ 28 August 2011.
  2. "Sea Around Us – Fisheries, Ecosystems and Biodiversity". สืบค้นเมื่อ 1 April 2017.
  3. 3.0 3.1 EEZ and shelf areas of New Zealand (mainland) – Sea Around Us Project – Fisheries, Ecosystems & Biodiversity – Data and Visualization.
  4. 4.0 4.1 EEZ and shelf areas of New Zealand (Kermadec Islands) – Sea Around Us Project – Fisheries, Ecosystems & Biodiversity – Data and Visualization.
  5. 5.0 5.1 EEZ and shelf areas of Tokelau – Sea Around Us Project – Fisheries, Ecosystems & Biodiversity – Data and Visualization.
  6. "FAO Country Profiles:New Zealand". Food and Agriculture Organization of the United Nations.
  7. "FAO Country Profiles:Tokelau". Food and Agriculture Organization of the United Nations.
  8. If the claimed Argentine Antarctica and its associated EEZ area are included, the total internal area of Argentina plus its EEZ area reaches 6,581,500 km2.
  9. 9.0 9.1 EEZ and shelf areas of North Korea (Yellow Sea) – Sea Around Us Project – Fisheries, Ecosystems & Biodiversity – Data and Visualization.
  10. 10.0 10.1 EEZ and shelf areas of North Korea (Sea of Japan) – Sea Around Us Project – Fisheries, Ecosystems & Biodiversity – Data and Visualization.
  11. "FAO Country Profiles:Democratic People's Republic of Korea". Food and Agriculture Organization of the United Nations.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]