ภาษาจ้วง
ภาษาจ้วง | |
---|---|
Vahcuengh/Vaьcueŋь | |
ประเทศที่มีการพูด | จีน |
จำนวนผู้พูด | 14 ล้านคน (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรละติน เคยเขียนด้วยสือดิบผู้จ่อง |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | za |
ISO 639-2 | zha |
ISO 639-3 | zha – รหัสรวม รหัสเอกเทศ: zch — จ้วงแบบหงสุ่ยเหอตอนกลาง zhd — จ้วงแบบไต้ (เหวินหมา) zeh — จ้วงแบบหงสุ่ยเหอตะวันออก zgb — จ้วงแบบกุ้ยเป่ย์ zgn — จ้วงแบบกุ้ยเปียน zln — จ้วงแบบเหลียนซาน zlj — จ้วงแบบหลิ่วเจียง zlq — จ้วงแบบหลิ่วเฉียน zgm — จ้วงแบบหมิน zhn — จ้วงแบบหนง (ยั่นกว่าง) zqe — จ้วงแบบชิวเป่ย์ zyg — จ้วงแบบยาง (เต๋อจิ้ง) zyb — จ้วงแบบหย่งเป่ย์ zyn — จ้วงแบบหย่งหนาน zyj — จ้วงแบบโย่วเจียง zzj — จ้วงแบบจั่วเจียง |
ภาษาจ้วง (จ้วง: Vahcuengh; จีน: 壮语; พินอิน: Zhuàngyǔ) เป็นภาษาของชาวจ้วงในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ประเทศจีน เป็นภาษาตระกูลขร้า-ไท มีวรรณยุกต์ 6 เสียง ระบบการเขียนมีทั้งแบบที่ยืมมาจากอักษรจีน คล้ายกับอักษรจื๋อโนมของเวียดนาม เรียก สือดิบผู้จ่อง และแบบที่เขียนด้วยอักษรละติน ซึ่งเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2500 และปรับปรุงอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2529
ระบบการออกเสียง
เนื้อหา
พะยัญชนะ[แก้]
ภาษาจ้วงมีพะยัญชนะ22ตัว
เสียงผิวปาก | b [p] | mb [ɓ] | m [m] | f [f] | v [β] | ||
เสียงหางลิ้น | d [t] | nd [ɗ] | n [n] | s [θ] | l [l] | ||
เสียงต้นลิ้น/เสีนงคอ | g [k] | gv [kʷ] | ng [ŋ] | h [h] | r [ɣ] | ||
เสียงหน้าลิ้น/เสียงปากกลม | c [ɕ] | y [ˀj] | ny [ɲ] | ngv [ŋʷ] | by [pʲ] | gy [kʲ] | my [mʲ] |
สระ[แก้]
ภาษาจว้งมีสระ 78 ตัว.
eอยู่หลังตัว a,o หมายถึง a,o ออกเสียงสั้น
อยู่หลัง i,u,w หมายถึง i,u,w ออกเสียงยาว.
aei ย่อเป็น ae.
สระเสียงนุ่ม | a [aː]
อา |
e [eː]
เอ(แอ) |
i [iː]
อี |
o [oː]
โอ(ออ) |
u [uː]
อู |
w [ɯː]
อือ |
|||||
ai [aːi]
อาย |
ae [ai]
ไอ |
ei [ei]
ไอ/อัย |
oi [oːi]
ออย |
ui [uːi]
อูย |
wi [ɯːi]
เอย |
||||||
au [aːu]
อาว |
aeu [au]
เอา |
eu [eːu]
แอว |
iu [iːu]
อีว |
ou [ou] | |||||||
aw [aɯ]
ใอ |
|||||||||||
am [aːm]
อาม |
aem [am]
อำ/อัม |
em [eːm]
แอม |
iem [iːm]
เอียม |
im [im]
อิม |
om [oːm]
ออม |
oem [om]
อม |
uem [uːm]
อูม/อวม |
um [um]
อุม |
|||
an [aːn]
อาน |
aen [an]
อัน |
en [eːn]
แอน |
ien [iːn]
เอียน |
in [in]
อิน |
on [oːn]
ออน |
oen [on]
อน |
uen [uːn]
อูน/อวน |
un [un]
อุน |
wen [ɯːn]
อืน/เอือน |
wn [ɯn]
อืน/อึน | |
ang [aːŋ] | aeng [aŋ] | eng [eːŋ] | ieng [iːŋ] | ing [iŋ] | ong [oːŋ] | oeng [oŋ] | ueng [uːŋ] | ung [uŋ] | wng [ɯŋ] | ||
check tone | ap [aːp] | aep [ap] | ep [eːp] | iep [iːp] | ip [ip] | op [oːp] | oep [op] | uep [uːp] | up [up] | ||
at [aːt] | aet [at] | et [eːt] | iet [iːt] | it [it] | ot [oːt] | oet [ot] | uet [uːt] | ut [ut] | wet [ɯːt] | wt [ɯt] | |
ak [aːk] | aek [ak] | ek [eːk] | iek [iːk] | ik [ik] | ok [oːk] | oek [ok] | uek [uːk] | uk [uk] | wk [ɯk] |
a的短元音舌位比长元音高,近似[ɐ]。i、u、w的短元音舌位比长元音低,近似[ɪ]、[ʊ]、[ɤ];长元音后接韵尾时带有流音[ə],例如ieng的读音接近[iəŋ]。
壮文中入声30韵遇到阳入调时把韵尾字母p, t, k改写成b, d, g,所以壮文共有108个韵母。
武鸣双桥话实际不区分ae和ei,aeu和ou。
สำเนียงย่อย[แก้]
ภาษาจ้วงแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่
ภาษาจ้วงเหนือ (รหัสเดิม ccx ยกเลิกเมื่อปี 2007) คือภาษาถิ่นทางตอนเหนือของแม่น้ำหย่ง (หย่งเจียง 邕江) มีผู้พูด 8,572,200 คน ถือว่าเป็นสำเนียงมาตรฐาน แบ่งออกเป็น
- แบบกุ้ยเป่ย์ (桂北: zgb) มีผู้พูด 1,290,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Luocheng, Huanjiang, Rongshui, Rong'an, Sanjiang, Yongfu, Longsheng, Hechi, Nandan, Tian'e, Donglan
- แบบหลิ่วเจียง (柳江: zlj) มีผู้พูด 1,297,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Liujiang, Laibin North, Yishan, Liucheng, Xincheng
- แบบหงสุ่ยเหอ (红水河) มีผู้พูด 2,823,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Laibin South, Du'an, Mashan, Shilong, Guixian, Luzhai, Lipu, Yangshuo
- Castro และ Hansen (2010) ได้แบ่งสำเนียงนี้ออกเป็น 3 ภาษาที่ไม่สามารถสื่อสารกันได้ ได้แก่ หงสุ่ยเหอตอนกลาง (中红水河: zch), หงสุ่ยเหอตะวันออก (东红水河: zeh), และหลิ่วเฉียน (柳黔: zlq)
- แบบหย่งเป่ย์ (邕北: zyb) มีผู้พูด 1,448,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Yongning North, Wuming (สำเนียงมาตรฐาน), Binyang, Hengxian, Pingguo
- แบบโย่วเจียง (右江: zyj) มีผู้พูด 732,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Tiandong, Tianyang, และพื้นที่บางส่วนของเมือง Baise; ทั้งหมดอยู่ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโย่ว
- แบบกุ้ยเปียน (桂边: zgn) มีผู้พูด 827,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Fengshan, Lingyun, Tianlin, Longlin, Yunnan Guangnan North
- แบบชิวเป่ย์ (丘北: zqe) มีผู้พูด 122,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Yunnan Qiubei
- แบบเหลียนซาน (连山: zln) มีผู้พูด 33,200 คน อาศัยอยู่บริเวณ Guangdong Lianshan, Huaiji North
ภาษาจ้วงใต้ (รหัสเดิม ccy ยกเลิกเมื่อปี 2007) คือภาษาถิ่นทางตอนใต้ของแม่น้ำหย่ง มีผู้พูด 4,232,000 คน แบ่งออกเป็น
- แบบหย่งหนาน (邕南: zyn) มีผู้พูด 1,466,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Yongning South, Fusui Central และ North, Long'an, Jinzhou, Shangse, Chongzuo
- แบบจั่วเจียง (左江: zzj) มีผู้พูด 1,384,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Longzhou (Longjin), Daxin, Tiandeng, Ningming; อยู่ในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำจั่ว
- แบบเต๋อจิ้ง (得靖) มีผู้พูด 979,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Jingxi, Debao, Mubian, Napo
- Jackson และ Lau (2012) ได้แบ่งสำเนียงนี้ออกเป็น 2 ภาษาที่ไม่สามารถสื่อสารกันได้ ได้แก่ ยาง (央: zyg), และหมิน (民: zgm)
- แบบยั่นกว่าง (砚广: zhn) หรือแบบหนง (侬) มีผู้พูด 308,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Yunnan Guangnan South, Yanshan
- แบบเหวินหมา (文麻: zhd) หรือแบบไต้ (岱) มีผู้พูด 95,000 คน อาศัยอยู่บริเวณ Yunnan Wenshan, Malipo, Guibian
อ้างอิง[แก้]
- Wéi Qìngwěn 韦庆稳, Tán Guóshēng 覃国生: Zhuàngyǔ jiǎnzhì 壮语简志 (Beijing, Mínzú chūbǎnshè 民族出版社 1980).
- Tán Xiǎoháng 覃晓航: Xiàndài Zhuàngyǔ 现代壮语 (Beijing, Mínzú chūbǎnshè 民族出版社 1995).
- Tán Guóshēng 覃国生: Zhuàngyǔ fāngyán gàilùn 壮语方言概论 (Nanning, Guǎngxī mínzú chūbǎnshè 广西民族出版社 1996).
- Liáng Tíngwàng 梁庭望 (ed.) : Gǔ Zhuàngzì wénxiàn xuǎnzhù 古壮字文献选注 (Tiānjīn gǔjí chūbǎnshè 天津古籍出版社 1992).
- Zhāng Yuánshēng 张元生: Zhuàngzú rénmín de wénhuà yíchǎn – fāngkuài Zhuàngzì 壮族人民的文化遗产——方块壮字. In: Zhōngguó mínzú gǔ wénzì yánjiū 中国民族古文字研究 (Beijing, Zhōngguó shèhuì kēxué chūbǎnshè 中国社会科学出版社 1984).
- Lín Fāng 林方: Tán lìyòng gǔ Zhuàngzì yánjiū Guǎngxī Yuèyǔ fāngyán 谈利用古壮字研究广西粤语方言. In: Mínzú yǔwén 民族语文 2004.3:16–26.
- Gǔ Zhuàngzì zìdiǎn 古壮字字典 (Nanning, Guǎngxī mínzú chūbǎnshè 广西民族出版社 1989). Dictionary of old Zhuang characters; contains 4,900 characters and more than 10,000 variants.
- Zhuàng-Hàn cíhuì 壮汉词汇 (Nanning, Guǎngxī mínzú chūbǎnshè广西民族出版社 1984).
|
|
|