ภาษานุง
หน้าตา
ภาษานุง | |
---|---|
ประเทศที่มีการพูด | เวียดนาม, จีน, ลาว |
ชาติพันธุ์ | ชาวนุง |
จำนวนผู้พูด | 968,800 คน (2009 census)[1] |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรละติน (ชุดตัวอักษรเวียดนามดัดแปลง) สือดิบผู้จ่อง |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | nut |
ภาษานุง (อังกฤษ: Nung language) หรือภาษานอง, ภาษาไทนุง, ภาษาผู้นุง มีผู้พูดทั้งหมด 856,412 คน (พ.ศ. 2542) ในประเทศเวียดนาม ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดกาวบั่งและจังหวัดหลั่งเซิน มีบางส่วนอยู่ในนครโฮจิมินห์และเมืองอื่น ๆ เป็นภาษาของชนกลุ่มน้อยในเวียดนาม มีผู้พูดภาษานี้อยู่ในลาวบ้างเล็กน้อย จัดอยู่ในตระกูลภาษาขร้า-ไท กลุ่มภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก ใกล้เคียงกับภาษาจ้วง เป็นคนละภาษากับภาษาจีนนุงหรือภาษาจีนกวางตุ้ง และภาษานุงหรือภาษานูที่อยู่ในภาษากลุ่มทิเบต-พม่า
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ภาษานุง ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.