ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามบินอุตรดิตถ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
}}
}}


'''สนามบินอุตรดิตถ์''' หรือ '''สนามบินวังยาง''' เป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อการอำนวยความสะดวกบุคลากรและวัสดุในการก่อสร้าง[[เขื่อนสิริกิติ์]] ต่อมา ได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มีเที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน แล้วจึงปิดตัวลงในปี พ.ศ. 2518<ref name="DY">[https://www.matichon.co.th/economy/news_859381 หอการค้าอุตรดิตถ์ลุ้นเอกชนฟื้นชีวิตสนามบินร้าง]</ref> สนามบินมีพื้นที่ทั้งหมด 1,085 ไร่ ตั้งอยู่บ้านวังยาง ตำบลผาจุก อำเภอเมือง [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] ปัจจุบันมอบพื้นที่จำนวน 700 ไร่ ให้เป็นสถานที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1290657769&grpid=03&catid=00 "ผาจุก"เลิกฝันสนามบินร้าง ยกพื้นที่700ไร่ถวายพระเทพฯ]</ref> พื้นที่สนามบินเป็นกรรมสิทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลผาจุก สนามบินใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์]] ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ใน[[ทางหลวงหมายเลข 1045]] ประมาณ 23 กิโลเมตร
'''สนามบินอุตรดิตถ์''' หรือ '''สนามบินวังยาง''' {{airport codes|UTR|VTPU}} เป็น[[สนามบิน]]ที่สร้างขึ้นเพื่อการอำนวยความสะดวกบุคลากรและวัสดุในการก่อสร้าง[[เขื่อนสิริกิติ์]] ต่อมา ได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มีเที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน แล้วจึงปิดตัวลงในปี พ.ศ. 2518<ref name="DY">[https://www.matichon.co.th/economy/news_859381 หอการค้าอุตรดิตถ์ลุ้นเอกชนฟื้นชีวิตสนามบินร้าง]</ref> สนามบินมีพื้นที่ทั้งหมด 1,085 ไร่ ตั้งอยู่บ้านวังยาง ตำบลผาจุก อำเภอเมือง [[จังหวัดอุตรดิตถ์]] ปัจจุบันมอบพื้นที่จำนวน 700 ไร่ ให้เป็นสถานที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1290657769&grpid=03&catid=00 "ผาจุก"เลิกฝันสนามบินร้าง ยกพื้นที่700ไร่ถวายพระเทพฯ]</ref> พื้นที่สนามบินเป็นกรรมสิทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลผาจุก สนามบินใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์]] ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ใน[[ทางหลวงหมายเลข 1045]] ประมาณ 23 กิโลเมตร


== สายการบิน ==
== สายการบิน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:10, 18 พฤษภาคม 2563

สนามบินอุตรดิตถ์
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสนามบินพาณิชย์, สนามบินกรมการขนส่งทางอากาศ
แผนที่
UTRตั้งอยู่ในประเทศไทย
UTR
UTR
ที่ตั้งในประเทศไทย
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
N/A 1,250 1,000 ลาดยาง

สนามบินอุตรดิตถ์ หรือ สนามบินวังยาง (IATA: UTRICAO: VTPU) เป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อการอำนวยความสะดวกบุคลากรและวัสดุในการก่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์ ต่อมา ได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มีเที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน แล้วจึงปิดตัวลงในปี พ.ศ. 2518[2] สนามบินมีพื้นที่ทั้งหมด 1,085 ไร่ ตั้งอยู่บ้านวังยาง ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันมอบพื้นที่จำนวน 700 ไร่ ให้เป็นสถานที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้[3] พื้นที่สนามบินเป็นกรรมสิทธิ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลผาจุก สนามบินใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ในทางหลวงหมายเลข 1045 ประมาณ 23 กิโลเมตร

สายการบิน

เส้นทางการบินที่เคยให้บริการ

การใช้ประโยชน์

ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 มีรายงานว่ามีองค์กรภาคเอกชนบางรายได้เข้ามาหารือกับทางจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีแผนการที่จะลงทุนพัฒนาสนามบินอุตรดิตถ์ให้สามารถกลับมาใช้การได้อีกครั้ง ทั้งนี้ในการประชุมประชาคมตำบลผาจุก เมื่อวันที่ 25 เมษายนปีเดียวกัน ประชาชนในตำบลผาจุกได้ให้ความเห็นชอบแล้ว[4]

อ้างอิง

  1. รายชื่อท่าอากาศยานของกรมท่าอากาศยาน
  2. 2.0 2.1 หอการค้าอุตรดิตถ์ลุ้นเอกชนฟื้นชีวิตสนามบินร้าง
  3. "ผาจุก"เลิกฝันสนามบินร้าง ยกพื้นที่700ไร่ถวายพระเทพฯ
  4. "อุตรดิตถ์เห็นชอบประชาคมที่ดินตั้ง'สนามบิน'". มติชน. 25 เมษายน 2561. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)