ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชกรีฑาสโมสร"

พิกัด: 13°44′14″N 100°32′20″E / 13.737163°N 100.53897°E / 13.737163; 100.53897
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
}}
}}


'''ราชกรีฑาสโมสร''' ({{lang-en|The Royal Bangkok Sports Club}}) เป็นสโมสรกีฬาใน[[ประเทศไทย]] หรือที่เรียกกันว่า '''สนามฝรั่ง''' ตั้งอยู่เลขที่ 1 [[ถนนอังรีดูนังต์]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเป็นที่ดินของ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2444]] ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสมาชิก เพื่อการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน้ำ สนามเทนนิส ห้องฟิตเนส นอกจากนี้ ยังมีการจัดแข่งม้าในวันอาทิตย์เว้นอาทิตย์ สลับกับ[[ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 12,500 คน<ref> RBSC Magazine, Vol.7 No.73 July 2007, หน้า 35</ref>
'''ราชกรีฑาสโมสร''' ({{lang-en|The Royal Bangkok Sports Club}}) เป็นสโมสรกีฬาใน[[ประเทศไทย]] หรือที่เรียกกันว่า '''สนามฝรั่ง''' ตั้งอยู่เลขที่ 1 [[ถนนอังรีดูนังต์]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเป็นที่ดินของ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2444]] ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสมาชิก เพื่อการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน้ำ สนามเทนนิส ห้องฟิตเนส นอกจากนี้ ยังมีการจัดแข่งม้าในวันอาทิตย์เว้นอาทิตย์ สลับกับ[[ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 12,500 คน<ref> RBSC Magazine, Vol.7 No.73 July 2007, หน้า 35</ref> โดยสโมสรได้รับการยอมว่าเป็น "the most prestigious club of the elite society"


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เมื่อปี [[พ.ศ. 2433]] ''แฟรงคลิน เฮิร์สท์'' [[ชาวอังกฤษ]] ยื่นหนังสือต่อ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย|เสนาบดีว่าการต่างประเทศ]] เสนอให้จัดตั้งสมาคมเพื่อส่งเสริมการเพาะพันธุ์ดูแลม้าและการเล่นกีฬา โดยควรเป็นสถานที่ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองเพื่อเข้าถึงได้ง่าย และเปิดโอกาสให้คนไทยเข้าเป็นสมาชิกได้ด้วย หลังจากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้าง ''รอยัล สปอร์ต คลับ'' (Royal Sports Club) ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เปลี่ยนเป็นชื่อภาษาไทยว่า''สโมสรราชกรีฑา'' และเปลี่ยนชื่อเป็น''ราชกรีฑาสโมสร'' จนถึงปัจจุบัน
เมื่อปี [[พ.ศ. 2433]] ''แฟรงคลิน เฮิร์สท์'' [[ชาวอังกฤษ]] ยื่นหนังสือต่อ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ]] [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย|เสนาบดีว่าการต่างประเทศ]] เสนอให้จัดตั้งสมาคมเพื่อส่งเสริมการเพาะพันธุ์ดูแลม้าและการเล่นกีฬา โดยควรเป็นสถานที่ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองเพื่อเข้าถึงได้ง่าย และเปิดโอกาสให้คนไทยเข้าเป็นสมาชิกได้ด้วย หลังจากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้าง ''รอยัล สปอร์ต คลับ'' (Royal Sports Club) ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เปลี่ยนเป็นชื่อภาษาไทยว่า''สโมสรราชกรีฑา'' และเปลี่ยนชื่อเป็น''ราชกรีฑาสโมสร'' จนถึงปัจจุบัน


เมื่อปี พ.ศ. 2444 ได้มีกลุ่มชาวต่างชาติที่อยู่ในไทยและกลุ่มชนชั้นนำชาวไทย นำโดยนายเล็กซานเดอร์ โอลารอฟสกี (Mr. Alexander Olarovsky) อุปทูตและกงสุลใหญ่ของรัสเซียประจำราชอาณาจักรไทย ได้ยื่นหนังสือต่อ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสนอให้จัดตั้งสมาคมเพื่อส่งเสริมการเพาะพันธุ์ดูแลม้าและการเล่นกีฬา หลังจากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้าง''ราชกรีฑาสโมสร'' ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2444 นายเล็กซานเดอร์ โอลารอฟสกี อุปทูตและกงสุลใหญ่ของรัสเซียประจำราชอาณาจักรไทยจึงเป็นผู้ก่อตั้งหลักและได้เป็นนายกสมาคม''ราชกรีฑาสโมสร'' เป็นคนแรก โดยชื่อของนายเล็กซานเดอร์ โอลารอฟสกี ได้ถูกจารึกลงบนแผ่นหินแกรนิต บริเวณใกล้กับทางเข้าของสโมสรด้วย
ต่อมาใน [[พ.ศ. 2435]] เริ่มทำสัญญาเช่าที่ดินบริเวณสระปทุม โดยการก่อสร้างดำเนินไปจนถึง [[พ.ศ. 2444]] จึงมีพิธีเปิดสโมสรอย่างเป็นทางการ เป็นสถานที่เล่นกีฬา[[กอล์ฟ]][[ที่สุดในประเทศไทย|แห่งแรกในประเทศไทย]]เมื่อ [[พ.ศ. 2445]] และมีการจัดแข่งม้าเป็นครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2446]]<ref>William Warren, Celebrating 100 Years The Royal Bangkok Sports Club, Mark Standen Publishing Co., Ltd., 2544</ref> จากนั้นเมื่อเดือน[[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2454]] ''ฟัน เดน บอร์น'' ชาว[[เบลเยียม]] นำ[[เครื่องบิน]]แบบ[[พี่น้องไรต์|ออวิลล์ไรต์]] ปีกสองชั้น มาแสดงการบินเป็นครั้งแรกใน[[ประเทศไทย]] ที่สนามม้าของราชกรีฑาสโมสร ต่อมาใน [[พ.ศ. 2456]] [[กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)|กระทรวงกลาโหม]]นำพื้นที่ส่วนหนึ่งของสนามม้าราชกรีฑาสโมสร ไปใช้เป็นสถานที่ขึ้นบินและลงจอดเครื่องบินแห่งแรกของประเทศไทย โดยใช้ชื่อว่า''[[สนามบิน]]สระปทุม'' จากนั้นเมื่อ [[พ.ศ. 2457]] มีการพิจารณาว่า สนามบินถาวรควรตั้งอยู่บนที่ดอนซึ่งน้ำท่วมไม่ถึง จึงย้ายไปยังที่ดอนตอนเหนือของ[[อำเภอบางเขน]] แล้วให้ชื่อว่า[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]]

<br />


{{wide image|Royal Bangkok Sports Club Pano.jpg|1200px|ทัศนียภาพของราชกรีฑาสโมสรจาก[[สถานีราชดำริ]]}}
{{wide image|Royal Bangkok Sports Club Pano.jpg|1200px|ทัศนียภาพของราชกรีฑาสโมสรจาก[[สถานีราชดำริ]]}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:33, 25 กันยายน 2562

ราชกรีฑาสโมสร
ราชกรีฑาสโมสร
ก่อนหน้ายิมคานาคลับ (GYMKHANA CLUB)
ก่อตั้ง6 กันยายน 1901; 122 ปีก่อน (1901-09-06)
ผู้ก่อตั้งAlexander Olarovsky
ที่ตั้ง
บริการเอ็กซ์คลูซีฟสปอร์ตคลับ
สมาชิก
ราว 12,500 คน
เว็บไซต์www.rbsc.org

ราชกรีฑาสโมสร (อังกฤษ: The Royal Bangkok Sports Club) เป็นสโมสรกีฬาในประเทศไทย หรือที่เรียกกันว่า สนามฝรั่ง ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2444 ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสมาชิก เพื่อการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ เช่น สนามกอล์ฟ สระว่ายน้ำ สนามเทนนิส ห้องฟิตเนส นอกจากนี้ ยังมีการจัดแข่งม้าในวันอาทิตย์เว้นอาทิตย์ สลับกับราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปัจจุบันมีสมาชิกประมาณ 12,500 คน[1] โดยสโมสรได้รับการยอมว่าเป็น "the most prestigious club of the elite society"

ประวัติ

เมื่อปี พ.ศ. 2433 แฟรงคลิน เฮิร์สท์ ชาวอังกฤษ ยื่นหนังสือต่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดีว่าการต่างประเทศ เสนอให้จัดตั้งสมาคมเพื่อส่งเสริมการเพาะพันธุ์ดูแลม้าและการเล่นกีฬา โดยควรเป็นสถานที่ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองเพื่อเข้าถึงได้ง่าย และเปิดโอกาสให้คนไทยเข้าเป็นสมาชิกได้ด้วย หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้าง รอยัล สปอร์ต คลับ (Royal Sports Club) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เปลี่ยนเป็นชื่อภาษาไทยว่าสโมสรราชกรีฑา และเปลี่ยนชื่อเป็นราชกรีฑาสโมสร จนถึงปัจจุบัน

เมื่อปี พ.ศ. 2444 ได้มีกลุ่มชาวต่างชาติที่อยู่ในไทยและกลุ่มชนชั้นนำชาวไทย นำโดยนายเล็กซานเดอร์ โอลารอฟสกี (Mr. Alexander Olarovsky) อุปทูตและกงสุลใหญ่ของรัสเซียประจำราชอาณาจักรไทย ได้ยื่นหนังสือต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสนอให้จัดตั้งสมาคมเพื่อส่งเสริมการเพาะพันธุ์ดูแลม้าและการเล่นกีฬา หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างราชกรีฑาสโมสร ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2444 นายเล็กซานเดอร์ โอลารอฟสกี อุปทูตและกงสุลใหญ่ของรัสเซียประจำราชอาณาจักรไทยจึงเป็นผู้ก่อตั้งหลักและได้เป็นนายกสมาคมราชกรีฑาสโมสร เป็นคนแรก โดยชื่อของนายเล็กซานเดอร์ โอลารอฟสกี ได้ถูกจารึกลงบนแผ่นหินแกรนิต บริเวณใกล้กับทางเข้าของสโมสรด้วย


ทัศนียภาพของราชกรีฑาสโมสรจากสถานีราชดำริ

สิ่งอำนวยความสะดวก

  • สนามแข่งม้า
  • สนามเทนนิส
  • สนามแบดมินตัน
  • สนามกอล์ฟ
  • สนามฟุตบอล
  • สระว่ายน้ำ - หลังจากที่สระแห่งเก่ามีปัญหาน้ำรั่ว จึงมีการสร้างใหม่เป็น 3 สระ และเปิดให้บริการตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2550
  • ห้องบิลเลียด
  • ห้องปิงปอง
  • ห้องฟิตเนส
  • ห้องสควอช
  • ห้องหมากรุก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. RBSC Magazine, Vol.7 No.73 July 2007, หน้า 35

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′14″N 100°32′20″E / 13.737163°N 100.53897°E / 13.737163; 100.53897