ผู้ใช้:ยุทธนาสาระขันธ์/ทดลองเขียน33

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลทีมชาติไทย[แก้]

รายการที่แข่งเสร็จแล้ว[แก้]

ฟุตบอลโลก[แก้]

ฟุตบอลโลก 2026[แก้]

ฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 1 แข่ง 2 ครั้ง คือ 12 และ 17 ตุลาคม 2566 เพื่อคัด 10 ทีมเข้ารอบที่ 2

ฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2 โดยในกลุ่มนี้ รอผู้ชนะของสิงค์โปร์และกวม ที่จะอยู่กลุ่มเดียวกับไทย เริ่มแข่งขัน 16 พฤศจิกายน 2566

ฟุตบอลโลก 2022[แก้]

ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย - รอบที่ 2 โดย ธงชาติไทย ไทย อยู่ในกลุ่มจี ร่วมกับ Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม, ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย, ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย แข่งขันแบบพบกันหมดเพื่อคัด 2 ทีมเข้ารอบต่อไป แต่เนื่องจากเกิดการระบาดของโควิด-19 เอเอฟซีจึงประกาศเลื่อนเกมคัดฟุตบอลโลกออกไป จากที่เลื่อนการแข่งขันเป็นเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน 2563 ไปเป็นวันที่ 31 พฤษภาคม - 15 มิถุนายน 2564 โดยจัดแข่งขันที่ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ผลการแข่งขันที่เหลืออีก 3 นัดของทีมชาติไทย มีผลดังนี้
นัดที่ 1 (3 มิย. 64): พบ อินโดนีเซีย เสมอ 1-1
นัดที่ 2 (7 มิย. 64): พบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (เจ้าภาพ) แพ้ 1-3
นัดที่ 3 (15 มิย. 64): พบ มาเลเซีย แพ้ 0-1
สรุป ทีมชาติไทยได้อันดับที่ 4 ตกรอบ

เอเชียนคัพ[แก้]

หลังจบรอบแรก ทีมชาติไทยผ่านสู่รอบ 2 พร้อมกลับสู่อันดับ TOP 100 เป็นครั้งแรกในรอบ 19 ปี[1]

การแข่งขันอื่นๆ[แก้]

  • เมอร์เดก้า 2023 แข่งขันระหว่างวันที่ 13–17 ตุลาคม 2023 ทีมชาติไทยไม่ได้ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขัน โดยครั้งล่าสุดที่ไทยเข้าร่วมรายการนี้คือเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ในปี 2013

ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ[แก้]

ตารางแสดงจำนวนครั้งชนะเลิศของทีมชาติจากประเทศต่างๆ

ลำดับ ประเทศ/ทีม ชนะเลิศ(ครั้ง) ชนะเลิศร่วม(ครั้ง) รวม(ครั้ง)
1 ไทย ไทย 13 2 15
2 เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 7 2 9
3 เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 3 3
4 สวีเดน สวีเดน 3 3
5 มาเลเซีย มาเลเซีย 2 2 4
6 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 2 2
7 จีน จีน 2 2
8 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 2 2
9 เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ U-23 2 2
10 อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1 1
11 เดนมาร์ก เดนมาร์ก โอลิมปิก 1 1
12 รัสเซีย รอตอร์วอลโกกราด 1 1
13 โรมาเนีย โรมาเนีย 1 1
14 สวีเดน สวีเดน ลีก XI 1 1
15 บราซิล บราซิล U-20 1 1
16 ลัตเวีย ลัตเวีย 1 1
17 กูราเซา กือราเซา 1 1
18 ทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 1 1
19 อิรัก อิรัก 1 1

หมายเหตุ ปรับปรุงข้อมูลถึงการแข่งขันครั้งที่ 49 (ครั้งล่าสุด พ.ศ. 2566)

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

รายชื่อผู้เล่น 29 คน สำหรับการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 ระหว่างวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2564 – 1 มกราคม พ.ศ. 2565

จำนวนนัดที่ลงเล่นให้ทีมชาติและจำนวนประตูที่ยิงได้นับถึงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2564 หลังแข่งขันกับ ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ (1990-01-26) 26 มกราคม ค.ศ. 1990 (34 ปี) 67 0 เบลเยียม โอฮา เลอเฟิน
20 1GK ฉัตรชัย บุตรพรม (1987-02-04) 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1987 (37 ปี) 13 0 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
23 1GK ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน (รองกัปตันทีม) (1984-04-20) 20 เมษายน ค.ศ. 1984 (39 ปี) 26 0 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

2 2DF สุริยา สิงห์มุ้ย (1995-04-07) 7 เมษายน ค.ศ. 1995 (28 ปี) 5 0 ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
3 2DF ธีราทร บุญมาทัน (1990-02-06) 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (34 ปี) 66 6 ญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
4 2DF มานูเอล บีร์ (1993-09-17) 17 กันยายน ค.ศ. 1993 (30 ปี) 15 0 ไทย แบงค็อก ยูไนเต็ด
5 2DF เอเลียส ดอเลาะ (1993-04-24) 24 เมษายน ค.ศ. 1993 (30 ปี) 4 1 ไทย การท่าเรือ
13 2DF ฟิลิป โรลเลอร์ (1994-06-10) 10 มิถุนายน ค.ศ. 1994 (29 ปี) 13 1 ไทย การท่าเรือ
15 2DF นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม (1994-07-12) 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 36 1 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
19 2DF ทริสตอง โด (1993-01-31) 31 มกราคม ค.ศ. 1993 (31 ปี) 41 0 ไทย แบงค็อก ยูไนเต็ด
25 2DF ปวีร์ ตัณฑะเตมีย์ (1996-10-22) 22 ตุลาคม ค.ศ. 1996 (27 ปี) 3 0 ไทย ราชบุรี มิตรผล
26 2DF กฤษดา กาแมน (1999-03-18) 18 มีนาคม ค.ศ. 1999 (25 ปี) 3 0 ไทย ชลบุรี

6 3MF สารัช อยู่เย็น (1992-05-30) 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 (31 ปี) 51 0 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
7 3MF สุภโชค สารชาติ (1998-05-22) 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 (25 ปี) 14 4 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
8 3MF ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์ (1993-09-01) 1 กันยายน ค.ศ. 1993 (30 ปี) 40 6 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
11 3MF บดินทร์ ผาลา (1994-12-20) 20 ธันวาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 13 0 ไทย การท่าเรือ
12 3MF ธนวัฒน์ ซึ้งจิตถาวร (2000-01-08) 8 มกราคม ค.ศ. 2000 (24 ปี) 6 0 อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี
14 3MF ปฐมพล เจริญรัตนาภิรมย์ (1999-09-09) 9 กันยายน ค.ศ. 1999 (24 ปี) 5 1 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
16 3MF พิธิวัต สุขจิตธรรมกุล (1995-02-01) 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995 (29 ปี) 11 0 ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
18 3MF ชนาธิป สรงกระสินธ์ (กัปตันทีม) (1993-10-05) 5 ตุลาคม ค.ศ. 1993 (30 ปี) 58 8 ญี่ปุ่น ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ
21 3MF ศิวกรณ์ เตียตระกูล (1994-07-07) 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 10 0 ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
24 3MF วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ (1997-08-24) 24 สิงหาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี) 4 1 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
27 3MF วีระเทพ ป้อมพันธุ์ (1996-09-19) 19 กันยายน ค.ศ. 1996 (27 ปี) 1 0 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด
28 3MF ปกเกล้า อนันต์ (1993-09-17) 17 กันยายน ค.ศ. 1993 (30 ปี) 43 6 ไทย แบงค็อก ยูไนเต็ด
29 3MF พิชา อุทรา (1996-01-07) 7 มกราคม ค.ศ. 1996 (28 ปี) 2 0 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด

9 4FW อดิศักดิ์ ไกรษร (1991-02-01) 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 (33 ปี) 35 17 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด
10 4FW ธีรศิลป์ แดงดา (รองกัปตันทีม) (1988-06-06) 6 มิถุนายน ค.ศ. 1988 (35 ปี) 107 49 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
17 4FW เจนภพ โพธิ์ขี (1996-04-04) 4 เมษายน ค.ศ. 1996 (27 ปี) 0 0 ไทย โปลิศ เทโร
22 4FW ศุภชัย ใจเด็ด (1998-12-01) 1 ธันวาคม ค.ศ. 1998 (25 ปี) 23 5 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

รายชื่อผู้เล่น 26 คน สำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2026 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย – รอบที่ 2 ในวันที่ 21 – 26 มีนาคม พ.ศ. 2567[2]

จำนวนนัดที่ลงเล่นให้ทีมชาติและจำนวนประตูที่ยิงได้นับถึงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2567 หลังแข่งขันกับ ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1GK ปฏิวัติ คำไหม (1994-12-24) 24 ธันวาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 9 0 ไทย ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
1GK สรานนท์ อนุอินทร์ (1994-03-24) 24 มีนาคม ค.ศ. 1994 (30 ปี) 1 0 ไทย เชียงราย ยูไนเต็ด

2DF ธีราทร บุญมาทัน (กัปตันทีม) (1990-02-06) 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (34 ปี) 101 7 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
2DF พรรษา เหมวิบูลย์ (1990-07-08) 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 (33 ปี) 44 6 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
2DF ศุภนันท์ บุรีรัตน์ (1993-10-10) 10 ตุลาคม ค.ศ. 1993 (30 ปี) 18 1 ไทย การท่าเรือ
2DF เอเลียส ดอเลาะ (1993-04-24) 24 เมษายน ค.ศ. 1993 (30 ปี) 16 1 อินโดนีเซีย บาหลี ยูไนเต็ด
2DF สุพรรณ ทองสงค์ (1994-08-26) 26 สิงหาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 13 0 ไทย ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
2DF นิโคลัส มิคเกลสัน (1999-07-24) 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 (24 ปี) 10 1 เดนมาร์ก โอเดนเซ
2DF สันติภาพ จันทร์หง่อม (1996-09-23) 23 กันยายน ค.ศ. 1996 (27 ปี) 3 0 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
3MF กฤษดา กาแมน (1999-03-18) 18 มีนาคม ค.ศ. 1999 (25 ปี) 32 0 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด

3MF สารัช อยู่เย็น (1992-05-30) 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 (31 ปี) 79 6 ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
3MF บดินทร์ ผาลา (1994-12-20) 20 ธันวาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 41 6 ไทย การท่าเรือ
3MF สุภโชค สารชาติ (1998-05-22) 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 (25 ปี) 32 8 ญี่ปุ่น ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ
3MF วีระเทพ ป้อมพันธุ์ (1996-09-19) 19 กันยายน ค.ศ. 1996 (27 ปี) 29 0 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด
3MF พีรดนย์ ฉ่ำรัศมี (1992-09-15) 15 กันยายน ค.ศ. 1992 (31 ปี) 21 2 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
3MF เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์ (1997-05-18) 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 (26 ปี) 11 0 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด
3MF รุ่งรัฐ ภูมิจันทึก (1992-05-17) 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 (31 ปี) 7 0 ไทย ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด
3MF ชนาธิป สรงกระสินธ์ (1993-10-05) 5 ตุลาคม ค.ศ. 1993 (30 ปี) 63 12 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
3MF ปกเกล้า อนันต์ (1991-03-04) 4 มีนาคม ค.ศ. 1991 (33 ปี) 47 6 ไทย ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด

4FW ศุภชัย ใจเด็ด (1998-12-01) 1 ธันวาคม ค.ศ. 1998 (25 ปี) 35 7 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
4FW ศุภณัฏฐ์ เหมือนตา (2002-08-02) 2 สิงหาคม ค.ศ. 2002 (21 ปี) 17 6 เบลเยียม โอฮา เลอเฟิน
4FW ปรเมศย์ อาจวิไล (1998-10-20) 20 ตุลาคม ค.ศ. 1998 (25 ปี) 10 1 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด

อ้างอิง[แก้]

  1. ทวงคืนเบอร์1อาเซียน! ทีมชาติไทย ขึ้นท็อป 100 โลกรอบ 19 ปี
  2. "#OFFICIAL ประกาศรายชื่อ 23 แข้งช้างศึก ชุดอุ่นเครื่องพบกับ ทีมชาติญี่ปุ่น". ช้างศึก. 3 January 2024. สืบค้นเมื่อ 5 January 2024.