พ.ศ. 2481
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1938)
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2481 |
ปฏิทินเกรกอเรียน | 1938 MCMXXXVIII |
Ab urbe condita | 2691 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1387 ԹՎ ՌՅՁԷ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6688 |
ปฏิทินบาไฮ | 94–95 |
ปฏิทินเบงกอล | 1345 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2888 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 2 Geo. 6 – 3 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2482 |
ปฏิทินพม่า | 1300 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7446–7447 |
ปฏิทินจีน | 丁丑年 (ฉลูธาตุไฟ) 4634 หรือ 4574 — ถึง — 戊寅年 (ขาลธาตุดิน) 4635 หรือ 4575 |
ปฏิทินคอปติก | 1654–1655 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3104 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1930–1931 |
ปฏิทินฮีบรู | 5698–5699 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1994–1995 |
- ศกสมวัต | 1860–1861 |
- กลียุค | 5039–5040 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11938 |
ปฏิทินอิกโบ | 938–939 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1316–1317 |
ปฏิทินอิสลาม | 1356–1357 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 13 (昭和13年) |
ปฏิทินจูเช | 27 |
ปฏิทินจูเลียน | เกรกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4271 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 27 民國27年 |
พุทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938
(ตามการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2481 เริ่มต้นในวันที่ 1 เมษายน)
- ปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1300 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย[แก้]
- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (2 มีนาคม พ.ศ. 2477 - 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
- เจ้านครประเทศราช (นครเชียงใหม่) : เจ้าแก้วนวรัฐ (2452-2482)
- เจ้านครประเทศราช (นครลำพูน) : เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (2454-2486)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2481-2487)
เหตุการณ์[แก้]
- 10 เมษายน - มีการลงคะแนนเสียงในประเทศออสเตรีย ซึ่งปรากฏว่า 99.7% เห็นด้วยในการรวมออสเตรียเข้ากับเยอรมัน
- 16 มีนาคม - อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ประกาศให้ดินแดนโบฮีเมียและโมราเวียอยู่ภายใต้การอารักขาของเยอรมัน
- 18 กันยายน - เริ่มการก่อสร้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไม่ทราบวัน[แก้]
- หนังสือการ์ตูนเรื่อง ซูเปอร์แมน ได้รับการตีพิมพ์และวางจำหน่ายครั้งแรกในปีนี้
วันเกิด[แก้]
- 1 มกราคม -
- เขียวหวาน ยนตรกิจ แชมป์ OPBF ชาวไทยคนที่ 8
- ฟูอาด มะอ์ศูม นักการเมืองชาวอิรักดิช
- 5 มกราคม - สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน อดีตพระมหากษัตริย์แห่งสเปน
- 10 มกราคม -
- จรัญ หัตถกรรม นักกฎหมายชาวไทย ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
- โดนัลด์ คนูธ นักวิทยาการคอมพิวเตอร์และศาสตราจารย์
- 12 มกราคม - สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) วัดญาณเวศกวัน
- 25 มกราคม -
- โชตาโร อิชิโนโมริ นักสร้าง และนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 28 มกราคม พ.ศ. 2541)
- เอตตา เจมส์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 มกราคม พ.ศ. 2555)
- 26 มกราคม - สก็อตต์ เกล็นน์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 31 มกราคม - สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์
- 2 กุมภาพันธ์ - มีชัย ฤชุพันธุ์ นักกฎหมายและนักการเมืองชาวไทย
- 12 กุมภาพันธ์ - ปีเตอร์ เทมเปิล-มอร์ริส นักการเมืองชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561)
- 16 กุมภาพันธ์ - นูร์ ฮะซัน ฮุเซน นายกรัฐมนตรีโซมาเลีย (ถึงแก่กรรม 1 เมษายน พ.ศ. 2563)
- 26 กุมภาพันธ์ - อ้ายซินเจว๋หลัว ฮุ่ยเซิง เจ้านายจากราชวงศ์ชิง (ถึงแก่กรรม 4 ธันวาคม พ.ศ. 2500)
- 4 มีนาคม - อาลฟา กงเด นักการเมืองของกินี
- 6 มีนาคม - ณัฐ อินทรปาณ อดีตกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย (ถึงแก่กรรม 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561)
- 24 มีนาคม - วัฒนา สรรพานิช สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- 25 เมษายน - กมล ทัพคัลไลย นักแต่งคำร้องและทำนองเพลงชาวไทย
- 28 เมษายน - เกอร์ลินเดอ ลอคเกอร์ นักแสดงหญิงชาวออสเตรีย
- 30 เมษายน - มิกาเอลา เคาน์เตสแห่งปารีส
- 2 พฤษภาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท
- 5 พฤษภาคม - สมัคร ชาลีกุล อดีตสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 11 จากพรรคแนวร่วมสังคมนิยม เขต 1 จังหวัดชัยภูมิ
- 2 มิถุนายน -
- เจ้าหญิงเดซีเรแห่งสวีเดน เจ้าหญืงแห่งสวีเดน
- ศรีศักร วัลลิโภดม นักวิชาการด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยาชาวไทย
- 4 มิถุนายน - อรนุช โอสถานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
- 5 มิถุนายน -
- ผ่องศรี วรนุช นักร้องราชินีลูกทุ่งหญิงไทย
- อามันด์ ดาเลม นักการเมืองชาวเบลเยียม (ถึงแก่กรรม 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
- 10 มิถุนายน - ปกิต พัฒนกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- 19 มิถุนายน - วาฮู แม็กแดเนียล ช็อกทอว์-ชิคกาซอพื้นเมืองอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 18 เมษายน พ.ศ. 2545)
- 24 มิถุนายน - มานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน
- 22 กรกฎาคม - ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
- 28 กรกฎาคม - ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยคนที่ 20
- 13 สิงหาคม - ลุยส์ เอสตาบา แชมป์โลกมวยสากลชาวเวเนซุเอลา
- 15 สิงหาคม - บุนยัง วอละจิด เลขาธิการพรรคประชาชนปฏิวัติลาว
- 17 สิงหาคม - สงบ ทิพย์มณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมัย (ถึงแก่กรรม 31 มกราคม พ.ศ. 2562)
- 28 สิงหาคม - ชลอ เกิดเทศ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย
- 14 ตุลาคม - จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน
- 22 ตุลาคม -
- กมลา สุโกศล นักร้องนักธุรกิจชาวไทย
- คริสโตเฟอร์ ลอยด์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 23 ตุลาคม - เจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ (ถึงแก่กรรม 19 สิงหาคม พ.ศ. 2557)
- 2 พฤศจิกายน - สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน
- 4 ธันวาคม - เจ้าหญิงอาน ดัชเชสแห่งกาลาเบรีย
- ฉลอง ภู่สว่าง นักดนตรี นักแต่งเพลงลูกทุ่งชาวไทย
- สนอง รักวานิช อดีตเทรนเนอร์มวยไทยและมวยสากล (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2530)
วันถึงแก่กรรม[แก้]
- 15 กุมภาพันธ์ - สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ 16 เมษายน พ.ศ. 2427)
- 22 มีนาคม - ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา (เกิด 11 มิถุนายน พ.ศ. 2421)
- 10 พฤศจิกายน - มุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2424)
- 25 ธันวาคม - กาเรล ชาเปก นักเขียนชาวเช็ก (เกิด 9 มกราคม พ.ศ. 2433)
รางวัล[แก้]
รางวัลโนเบล[แก้]
- สาขาเคมี – Richard Kuhn
- สาขาวรรณกรรม – เพิร์ล เอส บัค
- สาขาสันติภาพ – Nansen passport
- สาขาฟิสิกส์ – เอนรีโก แฟร์มี
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – กอร์แนย์ ฌอง ฟรองซัวส์ ฮีมองส์
![]() |
บทความนี้เกี่ยวกับ ปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ ที่กำลังรอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ |