ทวี แรงขำ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทวี แรงขำ
รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
16 ธันวาคม พ.ศ. 2515 – 16 ธันวาคม พ.ศ. 2516
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
ดำรงตำแหน่ง
23 – 26 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายกรัฐมนตรีพจน์ สารสิน
ก่อนหน้าประภาส จารุเสถียร
ดำรงตำแหน่ง
1 มกราคม – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจร
ดำรงตำแหน่ง
11 ธันวาคม พ.ศ. 2506 – 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจร
ดำรงตำแหน่ง
11 มีนาคม พ.ศ. 2512 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
นายกรัฐมนตรีถนอม กิตติขจร
ถัดไปถวิล สุนทรศารทูล
พ่วง สุวรรณรัฐ
มาลัย หุวะนันทน์
รักษาการอธิการบดี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดำรงตำแหน่ง
27 กันยายน – 21 ตุลาคม พ.ศ. 2500
ก่อนหน้าจอมพล แปลก พิบูลสงคราม
ถัดไปหลวงจำรูญเนติศาสตร์ (จำรูญ โปษยานนท์)
คณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดำรงตำแหน่ง
2 ธันวาคม พ.ศ. 2499 – 4 เมษายน พ.ศ. 2512
ก่อนหน้ามาลัย หุวะนันทน์
ถัดไปปกรณ์ อังศุสิงห์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด2 มกราคม พ.ศ. 2450
อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศสยาม
เสียชีวิต7 ตุลาคม พ.ศ. 2528 (78 ปี)
กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองพรรคสหประชาไทย
คู่สมรสคุณหญิงต่วน แรงขำ

ศาสตราจารย์ ทวี แรงขำ (2 มกราคม 2450 - 7 ตุลาคม 2528) ข้าราชการ นักการเมืองและนักวิชาการชาวไทย เป็นอดีตรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ครม.27, 28, 30, 31) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด และอดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การทำงาน[แก้]

ทวี แรงขำ เป็นข้าราชการพลเรือนในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เคยดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม (พ.ศ. 2487-2488) ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2488 ถึงปี พ.ศ. 2489 ต่อมาได้เข้าทำงานเป็นอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระหว่างปี พ.ศ. 2499 ถึงปี พ.ศ. 2512 และเคยรักษาการอธิการบดี ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2500

งานการเมือง[แก้]

ทวี แรงขำ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนายพจน์ สารสิน (ครม.27) พ.ศ. 2500[1][2] และในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร (ครม.28, 30, 31)[3] พ.ศ. 2500 และ พ.ศ. 2506-2514 และเป็นประจำสำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2502[4]

ทวี แรงขำ เคยร่วมก่อตั้งพรรคสหประชาไทย กับจอมพลถนอม กิตติขจร ในปี พ.ศ. 2511[5] ได้รับเลือกเป็นรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2515[6] และเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516

ยศกองอาสารักษาดินแดน[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี (จำนวน ๒๙ ราย)
  2. "คณะรัฐมนตรีคณะที่ 27 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 2018-04-09.
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๑๙ ราย)
  4. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมืองในสำนักนายกรัฐมนตรี
  5. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จดทะเบียนพรรคการเมือง (พรรคสหประชาไทย)
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (๑.พลตรี ศิริ สิริโยธิน ๒.นายทวี แรงขำ ๓.พลเรือเอก กมล สีตกะลิน)
  7. "ประกาศสำนักคณะกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดน 21 มิถุนายน พ.ศ. 2498" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-07-10. สืบค้นเมื่อ 2020-07-17.
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2012-05-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๖ ตอนที่ ๑๑๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๗, ๑๖ ธันวาคม ๒๕๐๒
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2009-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๔ ตอนที่ ๑๐๗ ง หน้า ๒๙๙๓, ๑๗ ธันวาคม ๒๕๐๐
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๓ ตอนที่ ๔๓ ง หน้า ๑๘๓๐, ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๐๙
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตภายใน, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๕๒, ๒๓ มิถุนายน ๒๔๘๔
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๖๓ ง หน้า ๒๐๕๔, ๒๓ สิงหาคม ๒๔๙๘
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2009-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๗๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๐๘, ๑๒ ธันวาคม ๒๔๙๕