ข้ามไปเนื้อหา

รัฐสมาชิกองค์การความร่วมมืออิสลาม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐสมาชิกขององค์การฯ แสดงด้วยสีเขียว รัฐสังเกตการณ์แสดงด้วยสีน้ำเงิน และรัฐที่ถูกคัดค้านแสดงด้วยสีแดง

องค์การความร่วมมืออิสลามที่ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2512 มีสมาชิกทั้งหมด 57 ประเทศ โดยมี 56 ประเทศเป็นสมาชิกสหประชาชาติ ประเทศที่มีประชากรมุสลิมจำนวนหนึ่งได้เข้าเป็นรัฐสังเกตการณ์ เช่น ไทย, แอฟริกากลางและรัสเซีย ในขณะที่บางรัฐเช่น อินเดีย และเอธิโอเปีย ไม่ได้เป็นสมาชิก

รัฐสมาชิก

[แก้]
ทวีป
แอฟริกา เอเชีย ยุโรป อเมริกาใต้ ข้ามทวีป
รัฐสมาชิก
เข้าร่วม
ประชากร
พื้นที่ (km²)
ภาษา
หมายเหตุ
 อัฟกานิสถาน – สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน A พ.ศ. 2512 A 25,500,100 [1] A 652,230 A ภาษาดารีเปอร์เซีย
ภาษาปาทาน
ถูกระงับสมาชิกภาพระหว่าง พ.ศ. 2523 - มีนาคม พ.ศ. 2532
 แอลจีเรีย – สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย A พ.ศ. 2512 A 38,700,000 [1] A 2,381,741 A ภาษาอาหรับ
 ชาด – สาธารณรัฐชาด A พ.ศ. 2512 A 13,211,000 [1] A 1,284,000 A ภาษาอาหรับ
ภาษาฝรั่งเศส
 อียิปต์ – สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ Aพ.ศ. 2512 A 86,748,100 [1] A 1,002,450 A ภาษาอาหรับ สมาชิกภาพถูกระงับหลังจากลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับอิสราเอลระหว่าง พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - มีนาคม พ.ศ. 2527[2]
 กินี – สาธารณรัฐกินี หรือ Guinea-Conakry A พ.ศ. 2512 A 10,824,200 [1] A 245,857 A ภาษาฝรั่งเศส
 อินโดนีเซีย – สาธารณรัฐอินโดนีเซีย A พ.ศ. 2512 A 252,164,800 [1] A 1,904,569 A ภาษาอินโดนีเซีย อินโดนีเซียมี 5 จังหวัดที่มีสถานะปกครองตนเองคือ: จังหวัดอาเจะฮ์, จาการ์ตา, เขตพิเศษยอร์กยาการ์ตา จังหวัดปาปัว และ จังหวัดปาปัวตะวันตก
 อิหร่าน – สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน A พ.ศ. 2512 A 77,557,000 [1] A 1,648,195 A ภาษาเปอร์เซีย
 จอร์แดน – ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน A พ.ศ. 2512 A 6,602,960 [1] A 89,342 A ภาษาอาหรับ
 คูเวต – รัฐคูเวต A พ.ศ. 2512 A 3,065,850 [1] A 17,818 A ภาษาอาหรับ
 เลบานอน – สาธารณรัฐเลบานอน A พ.ศ. 2512 A 4,966,000 [1] A 10,452 A ภาษาอาหรับ
 ลิเบีย – รัฐลิเบีย A พ.ศ. 2512 A 6,253,000 [1] A 1,759,540 A ภาษาอาหรับ ลิเบียมีเขตที่ประกาศปกครองตนเอง:[3]
 มาเลเซีย มาเลเซีย A พ.ศ. 2512 A 30,180,000 [1] A 330,803 A ภาษามลายู
 มาลี – สาธารณรัฐมาลี A พ.ศ. 2512 A 15,768,000 [1] A 1,240,192 A ภาษาฝรั่งเศส
 มอริเตเนีย – สาธารณรัฐอิสลามมอริตาเนีย A พ.ศ. 2512 A 3,461,041 [1] A 1,030,700 A ภาษาอาหรับ
 โมร็อกโก – ราชอาณาจักรโมร็อกโก A พ.ศ. 2512 A 33,309,400 [1] A 446,550 A ภาษาทามาไซต์
ภาษาอาหรับ
โมร็อกโกกล่าวอ้างสิทธิเหนือ สะฮาราตะวันตก และเข้าควบคุมพื้นที่ส่วนใหญ่ ซึ่งถูกโต้แย้งโดย สาธารณรัฐประชาปไตยอาหรับซาราวี
 ไนเจอร์ – สาธารณรัฐไนเจอร์ A พ.ศ. 2512 A 17,138,707 [1] A 1,267,000 A ภาษาฝรั่งเศส
 ปากีสถาน – สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน A พ.ศ. 2512 A 188,020,000 [1] A 881,912 A ภาษาอังกฤษ
ภาษาอูรดู
ปากีสถานมีข้อพิพาทกับอินเดียในสิทธิเหนือรัฐชัมมูและกัษมีระ และเข้าไปครอบครองกัษมีระในการปกครองของปากีสถาน แต่ไม่ได้เรียกร้องส่วนหนึ่งส่วนใดอย่างชัดเจน[4][5] แทนที่จะถือว่าเป็นดินแดนพิพาท[6][7] มีดินแดนที่มีการบริหารแยกไปจากปากีสถานส่วนใหญ่
 ปาเลสไตน์ – รัฐปาเลสไตน์ [8]
A พ.ศ. 2512[9] A 4,420,549 [1] A 6,220 A ภาษาอาหรับ The declared State of Palestine has received diplomatic recognition from แม่แบบ:Numrec states.[10] ดินแดนที่กล่าวอ้างไม่มีอาณาเขตชัดเจนและไม่มีอำนาจปกครอง[11] องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ เป็นหน่วยบริหารภายในที่เกิดขึ้นตามข้อตกลงออสโลซึ่งจัดตั้งเชตปาเลสไตน์ที่มีอำนาจจำกัด ในความสัมพันธ์กับนานาชาติ ตัวแทนปาเลสไตน์คือ องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์เป็นสมาชิกของยูเนสโก [12] และเป็นรัฐสังเกตการณ์ของสหประชาชาติ
 ซาอุดีอาระเบีย – ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย A พ.ศ. 2512 A 29,994,272 [1] A 2,149,690 A ภาษาอาหรับ
 เซเนกัล – สาธารณรัฐเซเนกัล A พ.ศ. 2512 A 12,873,601 [1] A 196,722 A ภาษาฝรั่งเศส
 โซมาเลีย – สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย A พ.ศ. 2512 A 10,806,000 [1] A 637,657 A ภาษาอาหรับ
ภาษาโซมาลี
 ซูดาน –สาธารณรัฐซูดาน A พ.ศ. 2512 A 37,289,406 [1] A 1,886,068 A ภาษาอาหรัล
ภาษาอังกฤษ
 ตูนิเซีย – สาธารณรัฐตูนีเซีย A พ.ศ. 2512 A 10,886,500 [1] A 163,610 A ภาษาอาหรับ
 ตุรกี – สาธารณรัฐตุรกี A พ.ศ. 2512 A 76,667,864 [1] A 783,562 A ภาษาตุรกี มีพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างยุโรปกับเอเชียตะวันตก
 เยเมน – สาธารณรัฐเยเมน A พ.ศ. 2512 A 25,235,000 [1] A 527,968 A ภาษาอาหรับ
 บาห์เรน –ราชอาณาจักรบาห์เรน A พ.ศ. 2513 A 1,234,571 [1] A 765 A ภาษาอาหรับ
 โอมาน – รัฐสุลต่านโอมาน A พ.ศ. 2513 A 4,020,000 [1] A 309,500 A ภาษาอาหรับ
 กาตาร์ – รัฐกาตาร์ A พ.ศ. 2513 A 2,174,035 [1] A 11,586 A ภาษาอาหรับ
 ซีเรีย – สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย A พ.ศ. 2513 A 21,987,000 [1] A 185,180 A ภาษาอาหรับ รัฐบาลผสมแห่งชาติเพื่อการปฏิวัติซีเรียและกองทัพฝ่ายค้านเป็นตัวแทนของประชาชนซีเรียโดยสมาชิกสหประชาชาติ 20 ประเทศ ได้จัดตั้ง รัฐบาลชั่วคราวซีเรีย เพื่อปกครองพื้นที่ที่ยึดครองได้ระหว่าง สงครามกลางเมืองซีเรีย

ซีเรียมีดินแดนที่ประกาศปกครองตนเอง:

ระงับสมาชิกภาพในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 ระหว่าง สงครามกลางเมืองซีเรีย.[13]

 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Aพ.ศ. 2514 A 9,446,000 [1] A 83,600 A ภาษาอาหรับ
 เซียร์ราลีโอน – สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน A พ.ศ. 2515 A 6,190,280 [1] A 71,740 A ภาษาอังกฤษ
 บังกลาเทศ – สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ A พ.ศ. 2517 A 156,569,000 [1] A 147,570 A ภาษาเบงกอล
 กาบอง – สาธารณรัฐกาบอง A พ.ศ. 2517 A 1,711,000 [1] A 267,668 A ภาษาฝรั่งเศส
Gambia  แกมเบีย – สาธารณรัฐแกมเบีย A พ.ศ. 2517 A 1,882,450 [1] A 11,295 A ภาษาอังกฤษ
 กินี-บิสเซา –สาธารณรัฐกินีบิสเซา A พ.ศ. 2517 A 1,746,000 [1] A 36,125 A ภาษาโปรตุเกส
 ยูกันดา – สาธารณรัฐยูกันดา A พ.ศ. 2517 A 35,357,000 [1] A 241,550 A ภาษาอังกฤษ
ภาษาสวาฮิลี
 บูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ เดิมใช้ชื่อว่าอับเปอร์วอลตาจนถึง พ.ศ. 2527 A พ.ศ. 2518 A 35,357,000 [1] A 241,550 A [ภาษาฝรั่งเศส]]
 แคเมอรูน –สาธารณรัฐแคเมอรูน A พ.ศ. 2518 A 35,357,000 [1] A 241,550 A ภาษาอังกฤษ
ภาษาฝรั่งเศส
 คอโมโรส – สหภาพโกโมโรส A พ.ศ. 2519 A 743,798 [1] A 1,862 A ภาษาอาหรับ
ภาษาโกโมเรียน
ภาษาฝรั่งเศส
 อิรัก – สาธารณรัฐอิรัก Aพ.ศ. 2519 A 36,004,552 [1] A 438,317 A ภาษาอาหรับ
ภาษาเคิร์ด
อิรักเป็นสหพันธ์[14] ของรัฐบาลอิรักและเขตปกครองตนเอง:
 มัลดีฟส์ – สาธารณรัฐมัลดีฟส์ A พ.ศ. 2519 A 317,280 [1] A 300 A ภาษามัลดีฟส์
 จิบูตี – สาธารณรัฐจิบูตี A พ.ศ. 2521 A 886,000 [1] A 23,200 A ภาษาอาหรับ
ภาษาฝรั่งเศส
 เบนิน –สาธารณรัฐเบนิน เดิมชื่อดาโฮเมย์จนถึง พ.ศ. 2518 A 1982 A 9,988,068 [1] A 112,622 A ภาษาฝรั่งเศส
 บรูไน – บรูไนดารุสซาลาม A พ.ศ. 2527 A 393,162 [1] A 5,765 A ภาษามลายู
 ไนจีเรีย – สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย A พ.ศ. 2529 A 178,517,000 [1] A 923,768 A ภาษาอังกฤษ
 อาเซอร์ไบจาน – สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน A พ.ศ. 2534 A 9,477,100 [1] A 86,600 A ภาษาอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจานมีเขตปกครองตนเองคือ Nakhchivan และ Nagorno-Karabakh (Dağlıq Qarabağ) ใน Nagorno-Karabakh ได้จัดตั้งรัฐ Nagorno-Karabakh

มีดินแดนอยู่ระหว่างยุโรปและเอเชียตะวันตก

 แอลเบเนีย – สาธารณรัฐแอลเบเนีย A พ.ศ. 2535 A 2,821,977 [1] A 28,748 A ภาษาอัลเบเนีย
 คีร์กีซสถาน – สาธารณรัฐคีร์กิซสถาน A พ.ศ. 2535 A 5,776,570 [1] A 199,951 A ภาษาคีร์กิซ
ภาษารัสเซีย
 ทาจิกิสถาน – สาธารณรัฐทาจิกิสถาน A พ.ศ. 2535 A 8,160,000 [1] A 143,100 A ภาษาทาจิก ทาจิกิสถานมีเขตปกครองตนเอง, Gorno-Badakhshan Autonomous Province.
 เติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน Aพ.ศ. 2535 A 5,307,000 [1] A 488,100 A ภาษาเติร์กเมน
 โมซัมบิก – สาธารณรัฐโมซัมบิก A พ.ศ. 2537 A 23,700,715 [1] A 801,590 A ภาษาโปรตุเกส
 คาซัคสถาน – สาธารณรัฐคาซัคสถาน A พ.ศ. 2538 A 17,244,000 [1] A 27,249 A ภาษาคาซัค
ภาษารัสเซีย
อยู่ระหว่างยุโรปและเอเชียตะวันตก
 อุซเบกิสถาน –สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน A พ.ศ. 2538 A 30,492,800 [1] A 447,400 A ภาษาอุซเบก อุซเบกิสถานมีเขตปกครองตนเอง:
 ซูรินาม – สาธารณรัฐสุรินาเม A พ.ศ. 2539 A 534,189 [1] A 163,820 A ภาษาดัตช์
 โตโก – สาธารณรัฐโตโก A พ.ศ. 2540 A 6,993,000 [1] A 56,785 A ภาษาฝรั่งเศส
 กายอานา –สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานา A พ.ศ. 2541 A 784,894 [1] A 214,969 A ภาษาอังกฤษ
 โกตดิวัวร์ –สาธารณรัฐไอวอรีโคสต์ A พ.ศ. 2544 A 23,202,000 [1] A 322,463 A ภาษาฝรั่งเศส

รัฐสังเกตการณ์

[แก้]
รัฐสังเกตการณ์
เข้าร่วม
ประชากร
พื้นที่ (km²)
ภาษา
หมายเหตุ
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวินา A พ.ศ. 2537 A 3,791,622 [1] A 51,209 A ภาษาบอสเนีย
ภาษาเซอร์เบีย
ภาษาโครเอเชีย
บอสเนียและเฮอร์เซโกวินาเป็นสหพันธ์ของ:

และ Brčko District มีรัฐบาลปกครองตนเอง

 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง สาธารณรัฐแอฟริกากลาง A พ.ศ. 2540 A 4,709,000 [1] A 622,984 A ภาษาฝรั่งเศส
 นอร์เทิร์นไซปรัส – สาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ A พ.ศ. 2522 [15] A 294,906 [1] A 3,355 A ภาษาตุรกี เป็นประเทศที่ได้รับการรับรองจากตุรกีเท่านั้น เป็นรัฐสังเกตการณ์ในองค์การความร่วมมืออิสลามและ Economic Cooperation Organization ไซปรัสเหนือถูกกล่าวอ้างว่าเป็นดินแดนทั้งหมดของสาธารณรัฐไซปรัส[16]

เปลี่ยนสถานะใน พ.ศ. 2547[17]

 ไทย – ราชอาณาจักรไทย A พ.ศ. 2541 A 64,456,700 [1] A 513,120 A ภาษาไทย
 รัสเซีย – สหพันธรัฐรัสเซีย A พ.ศ. 2548 A 146,048,500 [1] A 17,125,242 A ภาษารัสเซีย รัสเซียได้ปกครองไครเมียในฐานะ:

ข้อตกลงการผนวกไครเมียเข้ากับรัสเซียลงนามโดยตัวแทนจากสาธารณรัฐไครเมีย และสหพันธรัฐรัสเซียเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2557 มีดินแดนทั้งในยุโรปและเอเชีย

รัฐที่ถอนตัว

[แก้]

องค์กรสังเกตการณ์

[แก้]

สถาบันทางอิสลามสังเกตการณ์

[แก้]

องค์กรนานาชาติสังเกตการณ์

[แก้]
องค์กร เข้าร่วม หมายเหตุ
สันนิบาตอาหรับ พ.ศ. 2518
สหประชาชาติ พ.ศ. 2519
Non-Aligned Movement พ.ศ. 2520
สหภาพแอฟริกา พ.ศ. 2520
Economic Cooperation Organisation พ.ศ. 2538
Turkic Council พ.ศ. 2552

ขอเข้าเป็นสมาชิก

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 1.18 1.19 1.20 1.21 1.22 1.23 1.24 1.25 1.26 1.27 1.28 1.29 1.30 1.31 1.32 1.33 1.34 1.35 1.36 1.37 1.38 1.39 1.40 1.41 1.42 1.43 1.44 1.45 1.46 1.47 1.48 1.49 1.50 1.51 1.52 1.53 1.54 1.55 1.56 1.57 1.58 1.59 1.60 1.61 World Population Clocks 6 July 2014"U.S. & World Population Clocks". Census.gov. 2014-02-17. สืบค้นเมื่อ 2014-02-17.
  2. "Timeline: Organisation of the Islamic Conference". BBC. สืบค้นเมื่อ 8 July 2013.
  3. "East Libya declares self-government". Al Jazeera. November 3, 2013. สืบค้นเมื่อ November 5, 2013.
  4. Constitution of Pakistan, Art. 1.
  5. Aslam, Tasnim (11 December 2006). "'Pakistan Does Not Claim Kashmir As An Integral Part...'". Outlook India. The Outlook Group.
  6. Williams, Kristen P. (2001). Despite nationalist conflicts: theory and practice of maintaining world peace. Greenwood Publishing Group. pp. 154–155. ISBN 978-0-275-96934-9.
  7. Pruthi, R.K. (2001). An Encyclopaedic Survey Of Global Terrorism In 21St Century. Anmol Publications Pvt. Ltd. pp. 120–121. ISBN 978-81-261-1091-9.[ลิงก์เสีย]
  8. The State of Palestine succeeded the seat of the Palestine Liberation Organization following the 1988 Palestinian Declaration of Independence.
  9. "OIC member states". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-19. สืบค้นเมื่อ 2014-10-02.
  10. Palestine Liberation Organization. "Road For Palestinian Statehood: Recognition and Admission". Negotiations Affairs Department. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-18. สืบค้นเมื่อ 2011-07-28.
  11. See the following on statehood criteria:
  12. United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. "Arab States: Palestine". United Nations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-04. สืบค้นเมื่อ 3 December 2011.
  13. "Organization of Islamic Cooperation suspends Syria's membership". Al Arabiya. 2012-08-13. สืบค้นเมื่อ 2012-08-13.
  14. Source: Iraqi constitution เก็บถาวร 2006-07-25 ที่ Archive-It
  15. OIC observers[ลิงก์เสีย]
  16. See The World Factbook|Cyprus เก็บถาวร 2018-12-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (10 January 2006). Central Intelligence Agency. Retrieved January 17, 2006.
  17. The Turkish Cypriot community of Cyprus became an OIC “observer community” in 1979 under the name “Turkish Muslim community of Cyprus”. The 31st OIC Meeting of Foreign Ministers which met in Istanbul in June 2004, decided that the Turkish Cypriot Community (represented by the Turkish Republic of Northern Cyprus) will participate in the OIC meetings under the name envisaged in the Annan Plan for Cyprus (i.e. “Turkish Cypriot constituent state of the United Cyprus Republic” or Turkish Cypriot State in short). OIC Official Website เก็บถาวร 2015-09-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน