ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2016
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์
วันที่12 - 30 มกราคม พ.ศ. 2559
ทีม16
สถานที่4 สนาม (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ญี่ปุ่น (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ เกาหลีใต้
อันดับที่ 3 อิรัก
อันดับที่ 4 กาตาร์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู103 (3.32 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม87,053 (2,808 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศกาตาร์ Ahmed Alaa
(6 ประตู)
2013
2018
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2559

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2016 (อังกฤษ: 2016 AFC U-23 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 2 โดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ในระหว่างวันที่ 12 - 30 มกราคม พ.ศ. 2559 ที่ประเทศกาตาร์ ซึ่งทีมชนะเลิศ 3 ลำดับแรกของรายการนี้จะได้สิทธิ์ในการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 2016ประเทศบราซิล สำหรับ เอเอฟซี ยู-23 แชมป์เปิยนชิพ จำกัดอายุนักฟุตบอลที่เกิดหลัง (หรือใน) วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536) เป็นต้นไป

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

การแข่งขัน[แก้]

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย หรือ เอเอฟซี ทำการจับสลากแบ่งสายการแข่งขัน เอเอฟซี ยู-23 แชมเปิ้ยนชิพ 2016 รอบคัดเลือก เพื่อหา 16 ทีม ที่มาจาก

  • เจ้าภาพ : กาตาร์
  • แชมป์กลุ่ม 10 ทีม
  • อันดับที่สองของทั้ง 10 กลุ่มที่มีคะแนนดีที่สุดอีก 5 ทีม

จากนั้นทั้ง 16 ทีมจะแข่งขันในรอบสุดท้าย ก่อนที่จะคัดเหลือ 3 ทีม ที่จะคว้าโควต้าไปแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ต่อไป

รอบคัดเลือก[แก้]

โดยการแข่งขัน เอเอฟซี ยู-23 แชมเปิ้ยนชิพ รอบคัดเลือก จะแข่งขันกันระหว่าง 23-31 มีนาคม ค.ศ. 2015 และผลการจับสลากแบ่งสาย AFC U-23 Championship 2016 รอบคัดเลือก มีดังนี้

การจับฉลากแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D กลุ่ม E

เจ้าภาพ : ธงชาติโอมาน โอมาน

เจ้าภาพ : ธงของประเทศจอร์แดน จอร์แดน

เจ้าภาพ : ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน

เจ้าภาพ : Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

เจ้าภาพ : ธงของประเทศบังกลาเทศ บังกลาเทศ

กลุ่ม F กลุ่ม G กลุ่ม H กลุ่ม I กลุ่ม J

เจ้าภาพ : ธงของเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ฮ่องกง

เจ้าภาพ : ธงชาติไทย ไทย

เจ้าภาพ : ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย

เจ้าภาพ : ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย

เจ้าภาพ : ธงของประเทศจีน จีน

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก[แก้]

ประเทศ Qualified as Qualified on Previous appearance in tournament
 กาตาร์ เจ้าภาพ 28 November 2014 0 (เปิดตัว)
 ออสเตรเลีย กลุ่ม F ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 เกาหลีใต้ กลุ่ม H ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 ซีเรีย กลุ่ม E ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 เกาหลีเหนือ กลุ่ม G ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 จีน กลุ่ม J ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 ไทย กลุ่ม G รองชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 0 (เปิดตัว)
 ซาอุดีอาระเบีย กลุ่ม C ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 อิหร่าน กลุ่ม C รองชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลุ่ม D ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 เยเมน กลุ่ม D รองชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 ญี่ปุ่น กลุ่ม I ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 เวียดนาม กลุ่ม I รองชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 0 (เปิดตัว)
 อิรัก กลุ่ม A ชนะเลิศ 31 มีนาคม 2015 1 (2013)
 จอร์แดน กลุ่ม B ชนะเลิศ 20 พฤษภาคม 2015 1 (2013)
 อุซเบกิสถาน กลุ่ม E รองชนะเลิศ 20 พฤษภาคม 2015 1 (2013)

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

แชมป์กลุ่มและรองแชมป์กลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบก่อนรองชนะเลิศ

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น QST (UTC+03:00)

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  กาตาร์ (H, A) 3 3 0 0 9 4 +5 9 รอบแพ้คัดออก
2  อิหร่าน (A) 3 2 0 1 6 4 +2 6
3  ซีเรีย 3 1 0 2 5 7 −2 3
4  จีน 3 0 0 3 4 9 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (H) เจ้าภาพ.


กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น (A) 3 3 0 0 7 1 +6 9 รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีเหนือ (A) 3 0 2 1 5 6 −1 2
3  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 2 1 5 6 −1 2
4  ไทย 3 0 2 1 3 7 −4 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป.


กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ (A) 3 2 1 0 8 2 +6 7 รอบแพ้คัดออก
2  อิรัก (A) 3 2 1 0 6 3 +3 7
3  อุซเบกิสถาน 3 1 0 2 6 6 0 3
4  เยเมน 3 0 0 3 1 10 −9 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป.


อิรัก 1–1 เกาหลีใต้
อัมจัด ว. Goal 90+2' รายงาน คิมฮยอน Goal 22'
ผู้ชม: 1,086 คน
ผู้ตัดสิน: อับดุลราห์มาน อัล-จาสซิม (กาตาร์)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (A) 3 2 1 0 4 2 +2 7 รอบแพ้คัดออก
2  จอร์แดน (A) 3 1 2 0 3 1 +2 5
3  ออสเตรเลีย 3 1 1 1 2 1 +1 4
4  เวียดนาม 3 0 0 3 3 8 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : Group stage tiebreakers
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป.
จอร์แดน 3–1 เวียดนาม
Faisal Goal 39'72'
Al-Manasrah Goal 68'
รายงาน Đỗ Duy Mạnh Goal 86'
ผู้ชม: 1,392 คน
ผู้ตัดสิน: หม่า หนิง (จีน)
ออสเตรเลีย 0–1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
รายงาน Gallifuoco Goal 85' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 307 คน
ผู้ตัดสิน: อับดุลราห์มาน อัล-จาสซิม (กาตาร์)


รอบแพ้คัดออก[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, การต่อเวลาพิเศษ และ การยิงลูกโทษ เป็นการตัดสินหาผู้ชนะถ้าในกรณีที่จำเป็น.

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
22 มกราคม – โดฮา        
  กาตาร์ (ต่อเวลา)  2
26 มกราคม – โดฮา
  เกาหลีเหนือ  1  
  กาตาร์  1
23 มกราคม – โดฮา
      เกาหลีใต้  3  
  เกาหลีใต้  1
30 มกราคม – โดฮา
  จอร์แดน  0  
  เกาหลีใต้  2
22 มกราคม – โดฮา    
    ญี่ปุ่น  3
  ญี่ปุ่น (ต่อเวลา)  3
26 มกราคม – โดฮา
  อิหร่าน  0  
  ญี่ปุ่น  2 อันดับที่สาม
23 มกราคม – โดฮา
      อิรัก  1   29 มกราคม – โดฮา
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  1
  กาตาร์  1
  อิรัก (ต่อเวลา)  3  
  อิรัก (ต่อเวลา)  2
 


รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]




รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ โอลิมปิกฤดูร้อน 2016.


รอบชิงอันดับที่สาม[แก้]

ผู้ชนะได้สิทธิ์สำหรับ โอลิมปิกฤดูร้อน 2016.

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อันดับดาวซัลโว[แก้]

6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • ออสเตรเลีย Giancarlo Gallifuoco (ในนัดที่พบกับ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
  • อิรัก Alaa Ali Mhawi (ในนัดที่พบกับ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
  • เวียดนาม Phạm Hoàng Lâm (ในนัดที่พบกับ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

อันดับตาราง[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลการแข่งขัน
1  ญี่ปุ่น 6 6 0 0 15 4 +11 18 แชมป์
2  เกาหลีใต้ 6 4 1 1 14 6 +8 13 รองแชมป์
3  อิรัก 6 4 1 1 12 7 +5 13 อันดับที่สาม
4  กาตาร์ (H) 6 4 0 2 13 10 +3 12 อันดับที่สี่
5  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4 2 1 1 5 5 0 7 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6  อิหร่าน 4 2 0 2 6 7 −1 6
7  จอร์แดน 4 1 2 1 3 2 +1 5
8  เกาหลีเหนือ 4 0 2 2 6 8 −2 2
9  ออสเตรเลีย 3 1 1 1 2 1 +1 4 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10  อุซเบกิสถาน 3 1 0 2 6 6 0 3
11  ซีเรีย 3 1 0 2 5 7 −2 3
12  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 2 1 5 6 −1 2
13  ไทย 3 0 2 1 3 7 −4 2
14  จีน 3 0 0 3 4 9 −5 0
15  เวียดนาม 3 0 0 3 3 8 −5 0
16  เยเมน 3 0 0 3 1 10 −9 0
แหล่งที่มา : AFC
(H) เจ้าภาพ.

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]