สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Confederation of African Football)
สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา
ชื่อย่อCAF
ก่อตั้ง8 กุมภาพันธ์ 1957; 67 ปีก่อน (1957-02-08)
ประเภทองค์การกีฬา
สํานักงานใหญ่6th of October City เขตผู้ว่าการกีซา ประเทศอียิปต์
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ
แอฟริกา
สมาชิก
54 ชาติสมาชิก
ภาษาทางการ
Patrice Motsepe
รองประธาน
Augustin Senghor
อะห์มัด ยะห์ยา
Waberi Souleiman
Seidou Mbombo Njoya
Kanizat Ibrahim
เลขาธิการ
Véron Mosengo-Omba
องค์กรปกครอง
ฟีฟ่า
หน่วยงานในกํากับ
  • UNAF (แอฟริกาเหนือ)
  • WAFU (แอฟริกาตะวันตก)
  • UNIFFAC (แอฟริกากลาง)
  • CECAFA (แอฟริกาตะวันออก)
  • COSAFA (แอฟริกาใต้)
เว็บไซต์cafonline.com

สมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (อังกฤษ: Confederation of African Football) หรือ ซีเอเอฟ (CAF) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปแอฟริกา และเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า

ซีเอเอฟก่อตั้งเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ที่ประเทศอียิปต์

สมาชิก[แก้]

สมาชิกร่วม[แก้]

สมาชิก CAF & UAFA

องค์กรย่อย[แก้]

 Sahara   Niger   Congo   Nile   Kalahari 

African regional federations:

การแข่งขันที่จัดโดยซีเอเอฟ[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลก[แก้]

สัญลักษณ์
  • 1st — แชม
  • 2nd — รองแชม
  • 3rd — ที่ 3
  • 4th — ที่ 4
  • QF — รอบก่อนชิงชนะเลิศ (1934–1938, 1954–1970, and 1986–present: knockout round of 8)
  • R2 — รอบ 2 (1974-1978, second group stage, top 8; 1982: second group stage, top 12; 1986–present: knockout round of 16)
  • R1 — รอบ 1
  • q — อยู่ในระหว่างการแข่งขัน
  •  ••  — ได้แข่งขัน แต่ถอนตัว
  •  •  — ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  •  ×  — ไม่ได้เข้าร่วม / ถอนตัว / โดนแบน
  •    — เจ้าภาพ
  •     — ไม่ได้เป็นสมาชิกฟีฟ่า

ทีมชาย[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนซีเอเอฟที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team 1930
อุรุกวัย
(13)
1934
อิตาลี
(16)
1938
ฝรั่งเศส
(15)
1950
บราซิล
(13)
1954
สวิตเซอร์แลนด์
(16)
1958
สวีเดน
(16)
1962
ชิลี
(16)
1966
อังกฤษ
(16)
1970
เม็กซิโก
(16)
1974
เยอรมนีตะวันตก
(16)
1978
อาร์เจนตินา
(16)
1982
สเปน
(24)
1986
เม็กซิโก
(24)
1990
อิตาลี
(24)
1994
สหรัฐ
(24)
1998
ฝรั่งเศส
(32)
2002
เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
(32)
2006
เยอรมนี
(32)
2010
แอฟริกาใต้
(32)
2014
บราซิล
(32)
2018
รัสเซีย
(32)
2022
ประเทศกาตาร์
(32)
Total
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย Part of France[1] × R1
13th
R1
22nd
R1
28th
R2
14th
4/13
ธงชาติแองโกลา แองโกลา Part of Portugal[2] × R1
23rd
1/9
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน Part of France × × R1
17th
QF
7th
R1
22nd
R1
25th
R1
20th
R1
31st
R1
32nd
7/13
Flag of the Democratic Republic of the Congo สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก[3] Part of Belgium[4] × × R1
16th
× 1/11
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ × R1
13th
× × × × × × R1
20th
R1
31st
3/14
ธงชาติกานา กานา Part of the United Kingdom × × × R2
13th
QF
7th
R1
25th
3/13
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ Part of France × × × × R1
19th
R1
17th
R1
21st
3/11
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก Part of France × R1
14th
R2
11th
R1
23rd
R1
18th
R1
27th
5/14
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย Part of the United Kingdom × R2
9th
R2
12th
R1
27th
R1
27th
R2
16th
R1
21st
6/14
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล Part of France × × × × QF
7th
R1
17th
2/11
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ × × × × × × × × × × R1
24th
R1
17th
R1
20th
3/7
ธงชาติโตโก โตโก Part of France × × × × × R1
30th
1/10
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย Part of France × R1
9th
R1
26th
R1
29th
R1
24th
R1
24th
5/14
Total 0 1 0 0 0 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 5 5 5 6 5 5 5 44

ทีมหญิง[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนซีเอเอฟที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team 1991
จีน
(12)
1995
สวีเดน
(12)
1999
สหรัฐ
(16)
2003
สหรัฐ
(16)
2007
จีน
(16)
2011
เยอรมนี
(16)
2015
แคนาดา
(24)
2019
ฝรั่งเศส
(24)
2023

(24)
Total
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน × R2
11th
R2
15th
2/7
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ × × × R1
23rd
1/5
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี × × × R1
15th
× 1/4
ธงชาติกานา กานา R1
13–14
R1
12th
R1
15th
3/8
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย R1
10th
R1
11th
QF
7th
R1
15th
R1
13th
R1
9th
R1
21st
R2
16th
8/8
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ × R1
22nd
1/7

อันดับ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Algeria gained independence in 1962, but they joined with other African nations to boycott the 1966 FIFA World Cup. Thus the 1970 FIFA World Cup qualification was their first participation.
  2. Angola gained independence in 1975. Thus the 1986 FIFA World Cup qualification was their first participation.
  3. The Democratic Republic of the Congo competed as Zaire in 1974.
  4. Democratic Republic of the Congo gained independence in 1960, but they joined with other African nations to boycott the 1966 FIFA World Cup. Thus the 1974 FIFA World Cup qualification was their first participation.
  5. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking (Men) - CAF Region". FIFA. 4 June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-18. สืบค้นเมื่อ 2016-05-27.
  6. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking (Women) - CAF Region". FIFA. 2011-12-23. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-04.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]