ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
![]() สัญลักษณ์ใช้ตั้งแต่ ซูซูกิ คัพ 2018 | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2539 |
---|---|
ภูมิภาค | อาเซียน (เอเอฟเอฟ) |
จำนวนทีม | 10 (รอบสุดท้าย) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ![]() (ชนะเลิศครั้งที่ 6) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ![]() (ชนะเลิศ 6 ครั้ง) |
เว็บไซต์ | affsuzukicup.com |
![]() |
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน (อังกฤษ: ASEAN Football Federation Championship) หรือ เอเอฟเอฟ มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ (AFF Mitsubishi Electric Cup) หรือเรียกย่อกันว่า อาเซียนคัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี โดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (ASEAN Football Federation) หรือ เอเอฟเอฟ (AFF) เริ่มการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1996 ภายใต้ชื่อ ไทเกอร์คัพ (Tiger Cup) เนื่องจากมีผู้สนับสนุนหลักคือ เบียร์ไทเกอร์ จากประเทศสิงคโปร์ ภายหลังในปี ค.ศ. 2007 เบียร์ไทเกอร์ได้ยกเลิกการสนับสนุน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ แต่เปลี่ยนชื่อได้ 1 ปี ซูซูกิ ก็เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ (AFF Suzuki Cup) สืบมาจนถึงปี ค.ศ. 2022 มิตซูบิชิ อิเล็กทริค จึงเข้ามาเป็นผู้สนับสนุนใหม่แทน และเปลี่ยนชื่อเป็น เอเอฟเอฟ มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คัพ มาจนถึงปัจจุบัน
ผู้ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนทั้ง 13 ครั้งนั้นมีทีมชนะเลิศเพียง 4 ชาติคือ ไทย 6 ครั้ง สิงคโปร์ 4 ครั้ง เวียดนาม 2 ครั้ง และมาเลเซีย 1 ครั้ง
ผู้สนับสนุน[แก้]
- แลกาแดร์ สปอร์ตเป็นผู้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนด้านสินค้าทางกีฬา สื่อและอื่น ๆ ตั้งแต่ปี 1996
- ส่วนผู้สนับสนุนหลักใน 1996 ถึง 2006 คือ เบียร์ไทเกอร์ หลังจากนั้นในปี 2008 ซูซูกิได้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนต่อจนถึงปัจจุบัน[1]
ผลการแข่งขัน[แก้]
ปี | เจ้าภาพ | นัดชิงชนะเลิศ | นัดชิงอันดับ 3 | จำนวนทีม | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | ผลการแข่งขัน | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | ผลการแข่งขัน | อันดับที่ 4 | ||||||
1996 | ![]() |
![]() ไทย |
1–0 | ![]() มาเลเซีย |
![]() เวียดนาม |
3–2 | ![]() อินโดนีเซีย |
10 | |||
1998 | ![]() |
![]() สิงคโปร์ |
1–0 | ![]() เวียดนาม |
![]() อินโดนีเซีย |
3–3 (ต่อเวลา) (ดวลลูกโทษ 5–4) |
![]() ไทย |
8 | |||
2000 | ![]() |
![]() ไทย |
4–1 | ![]() อินโดนีเซีย |
![]() มาเลเซีย |
3–0 | ![]() เวียดนาม |
9 | |||
2002 | ![]() ![]() |
![]() ไทย |
2–2 เวลาปกติ (4–2) ดวลลูกโทษ |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() เวียดนาม |
2–1 | ![]() มาเลเซีย |
9 | |||
ปี | เจ้าภาพรอบแบ่งกลุ่ม | นัดชิงชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศอันดับ 3 หรือ แพ้รอบรองชนะเลิศ | จำนวนทีม | |||||||
ชนะเลิศ | ผลการแข่งขัน | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | ผลการแข่งขัน | อันดับที่ 4 | ||||||
2004 | ![]() ![]() |
![]() สิงคโปร์ |
3–1 2–1 |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() มาเลเซีย |
2–1 | ![]() พม่า |
10 | |||
ผลการแข่งขันรวม 5–2 | |||||||||||
2007 | ![]() ![]() |
![]() สิงคโปร์ |
2–1 1–1 |
![]() ไทย |
![]() ![]() |
8 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 3–2 | |||||||||||
2008 | ![]() ![]() |
![]() เวียดนาม |
2–1 1–1 |
![]() ไทย |
![]() ![]() |
8 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 3–2 | |||||||||||
2010 | ![]() ![]() |
![]() มาเลเซีย |
3–0 1–2 |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ![]() |
8 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 4–2 | |||||||||||
2012 | ![]() ![]() |
![]() สิงคโปร์ |
3–1 0–1 |
![]() ไทย |
![]() ![]() |
8 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 3–2 | |||||||||||
2014 | ![]() ![]() |
![]() ไทย |
2–0 2–3 |
![]() มาเลเซีย |
![]() ![]() |
8 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 4–3 | |||||||||||
2016 | ![]() ![]() |
![]() ไทย |
1–2 2–0 |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ![]() |
8 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 3–2 | |||||||||||
ปี | นัดชิงชนะเลิศ | แพ้รอบรองชนะเลิศ | จำนวนทีม | ||||||||
ชนะเลิศ | ผลการแข่งขัน | รองชนะเลิศ | |||||||||
2018 | ![]() เวียดนาม |
2–2 1–0 |
![]() มาเลเซีย |
![]() ![]() |
10 | ||||||
ผลการแข่งขันรวม 3–2 | |||||||||||
2020[a] | ![]() |
![]() ไทย[c] |
4–0 2–2 |
![]() อินโดนีเซีย[c] |
![]() ![]() |
10 | |||||
ผลการแข่งขันรวม 6–2 | |||||||||||
2022 | 10 | ||||||||||
หมายเหตุ
- ↑ การแข่งขันได้ถูกเลื่อนการแข่งขันเนื่องจากสถานการณ์ การระบาดทั่วของโควิด-19
- ↑ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2021 ได้มีการประกาศว่าสิงค์โปร์จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2020 โดยจะจัดการแข่งขันเพียงประเทศเดียว[2]
- ↑ 3.0 3.1 เนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดโดย องค์กรต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก (WADA), ไทยและอินโดนีเซีย จะไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงตัวด้วยธงประจำชาติของพวกเขา[3][4] โดยจะมีผลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2021[5]โดยไทยเลือกใช้โลโก้ของทีมชาติแทนธงชาติ ขณะที่อินโดนีเซียเลือกใช้ตราแผ่นดิน.
- ตั้งแต่ปี 2004 การแข่งขันรอบแพ้คัดออกใช้ระบบ 2 เลกโดยผลัดกันเป็นเหย้า - เยือน
- ตั้งแต่ปี 2007 ได้ยกเลิกการแข่งขันนัดชิงที่ 3 โดยจะเรียงผู้ผ่านเข้ารอบตามลำดับตัวอักษร จนในปี 2010 ได้เริ่มใช้กฎประตูทีมเยือนแทน
- การแข่งขันปี 2018 ได้ปรับรูปแบบการแข่งขันใหม่คือ ทีมอันดับที่ 1 - 9 ที่จะไปรออยู่ในรอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติส่วน 2 ทีมในอันดับสุดท้ายตามการจัดอันดับของการแข่งขันเมื่อปี 2016 มาแข่งกันก่อนในรอบคัดเลือกแบบ เหย้า – เยือนเพื่อหาตัวแทนให้ครบ 10 ทีมจากนั้นก็แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แต่ละทีมจะได้เล่นเป็นทีมเหย้า 2 นัดและเยือนอีก 2 นัด[6]
สรุปทำเนียบแชมป์[แก้]
ทีม | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่สาม / รอบรองชนะเลิศ | อันดับที่สี่ | รวม 4 |
---|---|---|---|---|---|
![]() |
6 (1996, 2000, 2002, 2014, 2016, 2020) | 3 (2007, 2008, 2012) | 1 (2018) | 1 (1998) | 11 |
![]() |
4 (1998, 2004, 2007, 2012) | - | 2 (2008, 2020) | - | 6 |
![]() |
2 (2008, 2018) | 1 (1998) | 7 (1996, 2002, 2007, 2010, 2014, 2016, 2020) | 1 (2000) | 11 |
![]() |
1 (2010) | 3 (1996, 2014, 2018) | 4 (2000, 2004, 2007, 2012) | 1 (2002) | 9 |
![]() |
- | 6 (2000, 2002, 2004, 2010, 2016, 2020) | 2 (1998, 2008) | 1 (1996) | 9 |
![]() |
- | - | 4 (2010, 2012, 2014, 2018) | - | 4 |
![]() |
- | - | 1 (2016) | 1 (2004) | 2 |
รวม | 13 | 13 | 21 | 5 | 52 |
- * รอบรองชนะเลิศ (ยกเลิกการแข่งขันนัดชิงที่ 3 ตั้งแต่ปี 2007)
ความสำเร็จในการแข่งขัน[แก้]
ทีม | ![]() 1996 (10) |
![]() 1998 (8) |
![]() 2000 (9) |
![]() ![]() 2002 (9) |
![]() ![]() 2004 (10) |
![]() ![]() 2007 (8) |
![]() ![]() 2008 (8) |
![]() ![]() 2010 (8) |
![]() ![]() 2012 (8) |
![]() ![]() 2014 (8) |
![]() ![]() 2016 (8) |
![]() 2018 (10) |
![]() 2020 (10) |
2022 (10) |
รวม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
ไม่ใช่สมาชิก เอเอฟเอฟ | × | × | × | × | N/A | 0 | ||||||||
![]() |
GS | • | × | × | × | • | • | × | • | • | • | • | × | N/A | 1 |
![]() |
GS | • | GS | GS | GS | • | GS | • | • | • | GS | GS | GS | N/A | 8 |
![]() |
4th | 3rd | 2nd | 2nd | 2nd | GS | SF | 2nd | GS | GS | 2nd | GS | 2nd | N/A | 13 |
![]() |
GS | GS | GS | GS | GS | GS | GS | GS | GS | GS | • | GS | GS | N/A | 12 |
![]() |
2nd | GS | 3rd | 4th | 3rd | SF | GS | 1st | SF | 2nd | GS | 2nd | GS | N/A | 13 |
![]() |
GS | GS | GS | GS | 4th | GS | GS | GS | GS | GS | SF | GS | GS | N/A | 13 |
![]() |
GS | GS | GS | GS | GS | GS | • | SF | SF | SF | GS | SF | GS | N/A | 12 |
![]() |
GS | 1st | GS | GS | 1st | 1st | SF | GS | 1st | GS | GS | GS | SF | N/A | 13 |
![]() |
1st | 4th | 1st | 1st | GS | 2nd | 2nd | GS | 2nd | 1st | 1st | SF | 1st | N/A | 13 |
![]() |
ส่วนหนึ่งของอินโดนีเซีย | × | GS | • | • | • | • | • | • | GS | GS | N/A | 3 | ||
![]() |
3rd | 2nd | 4th | 3rd | GS | SF | 1st | SF | GS | SF | SF | 1st | SF | N/A | 13 |
- ตำแหน่ง
|
|
หมายเหตุ
- ↑ นับตั้งแต่เข้าร่วม เอเอฟเอฟ ในปี 2013, ออสเตรเลีย ไม่เคยเข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน อย่างไรก็ตาม ออสเตรเลียได้เข้าแข่งขันใน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันออก ในปี 2013.
รางวัล[แก้]
ปี | ผู้เล่นทรงคุณค่า | ผู้ทำประตูสูงสุด | ประตู | ผู้เล่นเยาวชนประจำรายการ | รางวัลแฟร์เพลย์ |
---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
7 | N/A (รางวัลในปี 2020) |
![]() | |
![]() |
![]() |
4 | ไม่ได้รับรางวัล | ||
![]() |
![]() |
5 | ![]() | ||
![]() | |||||
![]() |
![]() |
8 | ไม่ได้รับรางวัล | ||
![]() |
![]() |
7 | |||
![]() |
![]() |
10 | |||
![]() |
![]() |
4 | ![]() | ||
![]() | |||||
![]() | |||||
![]() |
![]() |
5 | ![]() | ||
![]() |
![]() |
5 | ![]() | ||
![]() |
![]() |
6 | ![]() | ||
![]() |
![]() |
6 | ![]() | ||
![]() |
![]() |
8 | ![]() | ||
![]() |
![]() |
4 | ![]() |
![]() | |
![]() | |||||
![]() | |||||
![]() |
ผู้ทำประตูสูงสุดโดยรวม[แก้]
อันดับ | ผู้เล่น | ประตู |
---|---|---|
1 | ![]() |
19 |
2 | ![]() |
17 |
3 | ![]() |
15 |
![]() | ||
5 | ![]() |
14 |
6 | ![]() |
13 |
7 | ![]() |
12 |
![]() | ||
9 | ![]() |
11 |
![]() | ||
11 | ![]() |
10 |
- ตัวหนา หมายถึงผู้เล่นที่ยังเล่นให้แก่ฟุตบอลทีมชาติอยู่
ผู้ฝึกสอนที่ชนะเลิศ[แก้]
ตารางอันดับตลอดกาล[แก้]
- ณ วันที่ 2021
อันดับ | ทีม | Part | Pld | W | D | L | GF | GA | GD | Pts | ผลงานที่ดีที่สุด |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
13 | 77 | 49 | 17 | 11 | 167 | 89 | +78 | 164 | ชนะเลิศ (1996, 2000, 2002, 2014, 2016, 2020) |
2 | ![]() |
13 | 71 | 37 | 19 | 15 | 145 | 74 | +71 | 130 | ชนะเลิศ (2008, 2018) |
3 | ![]() |
13 | 69 | 35 | 14 | 20 | 175 | 122 | +53 | 119 | รองชนะเลิศ (2000, 2002, 2004, 2010, 2016, 2020) |
4 | ![]() |
13 | 62 | 31 | 15 | 16 | 112 | 62 | +50 | 108 | ชนะเลิศ (1998, 2004, 2007, 2012) |
5 | ![]() |
13 | 69 | 30 | 15 | 24 | 120 | 81 | +39 | 105 | ชนะเลิศ (2010) |
6 | ![]() |
13 | 46 | 15 | 7 | 24 | 58 | 101 | -43 | 52 | รอบรองชนะเลิศ (2004, 2016) |
7 | ![]() |
12 | 44 | 10 | 4 | 30 | 47 | 50 | –3 | 34 | รอบรองชนะเลิศ (2010, 2012, 2014, 2018) |
8 | ![]() |
8 | 30 | 4 | 0 | 26 | 29 | 102 | –73 | 12 | รอบแบ่งกลุ่ม (8 ครั้ง) |
9 | ![]() |
12 | 41 | 2 | 5 | 34 | 30 | 155 | –125 | 11 | รอบแบ่งกลุ่ม (12 ครั้ง) |
10 | ![]() |
1 | 4 | 1 | 0 | 3 | 1 | 15 | –14 | 3 | รอบแบ่งกลุ่ม (1996) |
11 | ![]() |
3 | 12 | 0 | 0 | 12 | 6 | 50 | –44 | 0 | รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2018, 2020) |
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Suzuki drives Asean Football Championship to new heights". Singapore: ASEAN Football Federation. 19 July 2016. สืบค้นเมื่อ 25 July 2016.
- ↑ Noronha, Anselm (28 September 2021). "Singapore to host AFF Suzuki Cup 2020: Teams, how to watch & more | Goal.com". Goal.com. สืบค้นเมื่อ 29 September 2021.
- ↑ "Thailand loses right to host tournaments". Bangkok Post. Bangkok Post Public Co. Ltd. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
The country has also been denied the right to display its national flag at any such events (international football events).
- ↑ "Chairman Of PSSI: Regarding The Flag At AFF 2020, We Will Follow Whatever The Decision Is". VOI – Waktunya Merevolusi Pemberitaan (ภาษาอังกฤษ). 24 November 2021. สืบค้นเมื่อ 25 November 2021.
- ↑ "WADA confirms non-compliance of five Anti-Doping Organizations (7 October 2021)". World Anti-Doping Agency (ภาษาอังกฤษ). 7 October 2021. สืบค้นเมื่อ 4 December 2021.
- ↑ "New format confirmed for AFF Suzuki Cup". Football Channel Asia. 14 March 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 March 2016. สืบค้นเมื่อ 12 December 2016.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- เว็บไซต์อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ อย่างเป็นทางการ Archived 2007-02-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ข่าวการแบ่งสาย และตารางวันแข่ง อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 จาก สยามสปอร์ต
- รายละเอียดไทเกอร์คัพ จาก rsssf.com (อังกฤษ)
- อาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 2007 (อังกฤษ)