ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ
วันที่8 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ทีม10
สถานที่12 (ใน 10 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติเวียดนาม เวียดนาม (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน26
จำนวนประตู80 (3.08 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม712,945 (27,421 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไทย อดิศักดิ์ ไกรษร (8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเวียดนาม เหงียน กวาง หาย
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
2016
2020

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2018 ตามชื่อของผู้สนับสนุน เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนครั้งที่ 12 จัดโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันใหม่ คือจะไม่มีประเทศเจ้าภาพในรอบแบ่งกลุ่ม แต่จะมีทีมที่เข้าเล่นในรอบแบ่งกลุ่ม 10 ทีม แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันกันแบบพบกันหมด ทีมละ 4 นัด โดยแต่ละทีมจะได้เล่นเป็นเจ้าบ้าน 2 นัด และออกไปเยือนอีก 2 นัด ซึ่งเกิดจากการสุ่ม โดยมีทีมที่จะไปรออยู่ในรอบแบ่งกลุ่มแล้ว 9 ทีม และ 2 ทีมในอันดับสุดท้ายตามการจัดอันดับของการแข่งขันเมื่อปี 2016 มาแข่งกันก่อนในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ เหย้า – เยือน เพื่อหาผู้ชนะเข้าไปแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มต่อไป[1]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 แข่งขันรอบคัดเลือกเพลย์ออฟในวันที่ 1 และ 8 กันยายน พ.ศ. 2561 และเริ่มการแข่งขันอย่างเป็นทางการในวันที่ 8 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม ปีเดียวกัน[1]

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน[แก้]

ประเทศ จำนวนครั้งที่เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุด
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 7th รอบแบ่งกลุ่ม (1996, 2000, 2002, 2004, 2008, 2016)
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 12th รองชนะเลิศ (2000, 2002, 2004, 2010, 2016)
ธงชาติลาว ลาว 11th รอบแบ่งกลุ่ม (1996 to 2014)
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 12th ชนะเลิศ (2010)
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 12th อันดับ 4 (2004), รอบรองชนะเลิศ (2016)
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 11th รอบรองชนะเลิศ (2010, 2012, 2014)
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 12th ชนะเลิศ (1998, 2004, 2007, 2012)
ธงชาติไทย ไทย 12th ชนะเลิศ (1996, 2000, 2002, 2014, 2016)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 12th ชนะเลิศ (2008)
ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 2nd รอบแบ่งกลุ่ม (2004)

การจับสลากแบ่งสาย[แก้]

การจับสลากแบ่งสายฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561[2] ที่โรงแรมมูเลียในกรุง จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย[3][4] โดยการแบ่งโถจะนำผลการแข่งขันในสองครั้งที่ผ่านมามาเป็นเกณฑ์[5]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4 โถ 5
ธงชาติไทย ไทย (แชมป์เก่า)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
ธงชาติประเทศพม่า พม่า
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา
ธงชาติลาว ลาว
 ติมอร์-เลสเต

ผู้เล่น[แก้]

สนามแข่งขัน[แก้]

มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ เวียดนาม ฮานอย
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล สนามกีฬากัวลาลัมเปอร์ สนามกีฬาหมีดิ่ญ สนามกีฬาห่างเด๋ย
ความจุ: 87,411 ความจุ: 18,000 ความจุ: 40,192 ความจุ: 22,500
อินโดนีเซีย จาการ์ตา กัมพูชา พนมเปญ
สนามกีฬาหลักเกอโลราบุงการ์โน สนามกีฬาโอลิมปิก
ความจุ: 77,193 ความจุ: 50,000
สิงคโปร์ คัลลัง ไทย กรุงเทพมหานคร
สนามกีฬาแห่งชาติ ราชมังคลากีฬาสถาน
ความจุ: 55,000 ความจุ: 49,722
ประเทศพม่า ย่างกุ้ง ประเทศพม่า มัณฑะเลย์ ลาว เวียงจันทน์ ฟิลิปปินส์ บาโคโลด
สนามกีฬาธูวันนา สนามกีฬามันดาลาร์ธีรี สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16 ปานาอัดปาร์กแอนด์สเตเดียม
ความจุ: 32,000 ความจุ: 30,000 ความจุ: 25,000 ความจุ: 9,825

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 4 3 1 0 8 0 +8 10 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 4 3 0 1 7 3 +4 9
3 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 4 2 1 1 7 5 +2 7
4 ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 4 1 0 3 4 9 −5 3
5 ธงชาติลาว ลาว 4 0 0 4 3 12 −9 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ




กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติไทย ไทย 4 3 1 0 15 3 +12 10 รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 4 2 2 0 5 3 +2 8
3 ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 4 2 0 2 7 5 +2 6
4 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 4 1 1 2 5 6 −1 4
5 ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 4 0 0 4 4 19 −15 0
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ




หมายเหตุ 1: เนื่องจากสนามมูนิซิปาล สเตเดียม ในกรุงดิลี ประเทศติมอร์-เลสเต ไม่ผ่านการรับรองเรื่องไฟส่องสว่างจากสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ทำให้สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยื่นข้อเสนอขอรับหน้าที่จัดการแข่งขันนัดนี้ และทางสหพันธ์ฟุตบอลติมอร์-เลสเต ก็ตอบรับ [10] อย่างไรก็ตาม โปรแกรมที่ฝ่ายจัดการแข่งขันของเอเอฟเอฟได้กำหนดเอาไว้ว่าเป็น ติมอร์-เลสเต ที่เป็นเจ้าภาพ แต่ ไทยทิคเก็ตเมเจอร์ เปิดให้ผู้ชมฝั่งไทยสามารถซื้อบัตรเข้าชมการแข่งขันนี้ได้ทุกโซน ยกเว้นเพียงโซนทีมเยือนเท่านั้น[11]

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                         
เอ2  ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย () 0 2 2  
บี1  ธงชาติไทย ไทย 0 2 2  
    เอ2  ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 2 0 2
  เอ1  ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 2 1 3
บี2  ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 1 1 2
เอ1  ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 2 2 4  

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

เลกแรก

เลกที่สอง

รวมผลสองนัด เสมอ 2–2, มาเลเซีย ชนะด้วยประตูทีมเยือน.


รวมผลสองนัด เวียดนาม ชนะ 4–2.

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

เลกแรก
เลกที่สอง

รวมผลสองนัด เวียดนาม ชนะ 3–2.

สถิติ[แก้]

ทีมชนะเลิศ[แก้]

 แชมเปียนฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 
ธงชาติเวียดนาม
เวียดนาม
สมัยที่ 2

รางวัล[แก้]

รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า[12] รางวัลดาวซัลโว[12] รางวัลแฟร์เพลย์[12]
เวียดนาม เหงียน กวาง หาย ไทย อดิศักดิ์ ไกรษร ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

มีการทำประตูทั้งหมด 80 ประตู จากการแข่งขัน 26 นัด เฉลี่ย 3.08 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน



8 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
การทำเข้าประตูตัวเอง


อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "เอเอฟเอฟ เปลี่ยนรูปแบบ ซูซูกิ คัพ ยัดกลุ่มละ 5 ทีม ลงฟาดแข้งรอบสุดท้าย". เอ็มไทย. 25 กันยายน 2560. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  2. Beatrice Go (3 April 2018). "Azkals move forward with possible new recruits, 'bayanihan' initiatives – Palami". Rappler. สืบค้นเมื่อ 7 April 2018.
  3. "Official Draw to Raise Curtain on AFF Suzuki Cup 2018". 2018 AFF Suzuki Cup. 23 เมษายน พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. "Philippines Football Teams Journey To Forge Their Place Among Asia's Best". Philippine Football Federation. 27 เมษายน พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 27 เมษายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  5. "VN, Thailand top seeds at 2018 AFF Cup". Vietnam News. 2 มีนาคม พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  6. "2018 AFF Championship Group Stage Summary [Cambodia (0) – (1) Malaysia]". ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-11. สืบค้นเมื่อ 8 November 2018.
  7. "2018 AFF Championship Group Stage Summary [Laos (0) – (3) Vietnam]". ESPN. สืบค้นเมื่อ 8 November 2018.
  8. "2018 AFF Championship Group Stage Summary [Singapore (1) – (0) Indonesia]". ESPN. สืบค้นเมื่อ 9 November 2018.
  9. "2018 AFF Championship Group Stage Summary [Timor-Leste (0) – (7) Thailand]". ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-11. สืบค้นเมื่อ 9 November 2018.
  10. สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (3 ตุลาคม 2561). "เอเอฟเอฟยืนยัน ซูซูกิ คัพ เกม "ช้างศึก" เจอติมอร์ เตะที่ไทย". sport.trueid.net. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. ไทยทิคเก็ตเมเจอร์ (30 ตุลาคม 2561). "ยกเว้นโซนทีมเยือน!ไทยทิคเก็ตเผยช้างศึกดวลติมอร์ฯ9พ.ย.ที่ราชมังคลาฯบัตรเหลือเพียบ". www.siamsport.co.th. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  12. 12.0 12.1 12.2 "AFF Suzuki Cup 2018: Vietnam's Nguyen Quang Hai named MVP of the tournament". Fox Sports Asia. 15 December 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-15. สืบค้นเมื่อ 15 December 2018.