ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี
ก่อตั้ง2005
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เอเอฟเอฟ)
จำนวนทีมเปลี่ยนแปลงได้
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน มาเลเซีย (2 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด ไทย , ออสเตรเลีย (5 สมัย)
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2024

การแข่งขันฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี (อังกฤษ: AFF U-19 Youth Championship) จะมีการจัดขึ้นในทุก ๆ ปี โดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (เอเอฟเอฟ) เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ชาติต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ที่จะเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี ต่อไป และบางปีก็มีการเชิญชาติอื่นในเอเชียมาร่วมแข่งขันด้วย เดิมทีนั้น การแข่งขันนี้บังคับให้ใช้นักเตะอายุต่ำกว่า 20 ปี อย่างไรก็ตามต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตามสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ที่ได้เปลี่ยนชื่อการแข่งขัน U-20 เป็น U-19 เพื่อให้สอดคล้องกับกฎการตั้งชื่อการแข่งขันของฟีฟ่า และสะท้อนอายุของผู้เล่น[1]

การแข่งขันรายการนี้จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2002 ซึ่งไทยเป็นทีมชนะเลิศ[2]

ผลการแข่งขัน[แก้]

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงอันดับที่สาม
ชนะเลิศ ผล อันดับที่สอง อันดับที่สาม ผล อันดับที่สี่
2002
รายละเอียด
ไทย
ไทย
กัมพูชา
กัมพูชา

ไทย
4 - 0
พม่า

ลาว
1 - 0
เวียดนาม
2003
รายละเอียด
ประเทศพม่า
พม่า
เวียดนาม
เวียดนาม

พม่า
4 - 0
มาเลเซีย

สิงคโปร์
1 - 1
(5–4 ลูกโทษ)

เวียดนาม
2005
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

พม่า
1 - 0
มาเลเซีย

ลาว
4 - 1
เวียดนาม
2006
รายละเอียด
มาเลเซีย
มาเลเซีย

ออสเตรเลีย
พบกันหมด
มาเลเซีย

ไทย
พบกันหมด
เวียดนาม
2007
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

เวียดนาม
1 - 0
มาเลเซีย

ไทย
2 - 0
พม่า
2008
รายละเอียด
ไทย
ไทย

ออสเตรเลีย
0 - 0
(3-1 ลูกโทษ)

เกาหลีใต้

จีน
3 - 0
ไทย
2009
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

ไทย
2 - 2
(5-3 ลูกโทษ)

ออสเตรเลีย

เวียดนาม
3 - 0
มาเลเซีย
2010
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

ออสเตรเลีย
1 - 0
ไทย

เกาหลีใต้
1 - 1
(7-6 ลูกโทษ)

เวียดนาม
2011
รายละเอียด
ประเทศพม่า
พม่า

ไทย
1 - 1
(5-4 ลูกโทษ)

เวียดนาม

มาเลเซีย
0 - 0
(4-2 ลูกโทษ)

พม่า
2012
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

อิหร่าน
2 - 1
อุซเบกิสถาน

ออสเตรเลีย
4 - 0
เวียดนาม
2013
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย
0 - 0
(7-6 ลูกโทษ)

เวียดนาม

ติมอร์-เลสเต
4 - 2
ลาว
2014
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

ญี่ปุ่น
1 - 0
เวียดนาม

ไทย
1 - 0
พม่า
2015
รายละเอียด
ลาว
ลาว

ไทย
6 - 0
เวียดนาม

ลาว
1 - 1
(3-2 ลูกโทษ)

มาเลเซีย
2016
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

ออสเตรเลีย
5 - 1
ไทย

เวียดนาม
4 - 0
ติมอร์-เลสเต
2017
รายละเอียด
ประเทศพม่า
พม่า

ไทย
2 - 0
มาเลเซีย

อินโดนีเซีย
7 - 1
พม่า
2018
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

มาเลเซีย
4 - 3
พม่า

อินโดนีเซีย
2 - 1
ไทย
2019
รายละเอียด
เวียดนาม
เวียดนาม

ออสเตรเลีย
1 - 0
มาเลเซีย

อินโดนีเซีย
5 - 0
พม่า
2022
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

มาเลเซีย
2 - 0
ลาว

เวียดนาม
1 - 1
(5-3 ลูกโทษ)

ไทย
2024
รายละเอียด
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย

ความสำเร็จในการแข่งขัน[แก้]

ทีม กัมพูชา
ไทย
2002
ประเทศพม่า
เวียดนาม
2003
อินโดนีเซีย
2005
มาเลเซีย
2006
เวียดนาม
2007
ไทย
2008
เวียดนาม
2009
เวียดนาม
2010
ประเทศพม่า
2011
เวียดนาม
2012
อินโดนีเซีย
2013
เวียดนาม
2014
ลาว
2015
เวียดนาม
2016
ประเทศพม่า
2017
อินโดนีเซีย
2018
เวียดนาม
2019
(12)
อินโดนีเซีย
2022
(11)
ทั้งหมด
 ออสเตรเลีย 1st 1st 2nd 1st 3rd GS 1st 1st × 8
 บรูไน GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS 10
 กัมพูชา GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS 12'
 อินโดนีเซีย GS GS GS GS 1st GS GS 3rd 3rd 3rd GS 11
 ลาว 3rd GS 3rd GS GS 4th 3rd GS GS GS GS 2nd 12
 มาเลเซีย GS 2nd 2nd 2nd 2nd 4th 3rd GS 4th GS 2nd 1st 2nd 1st 14
 พม่า 2nd 1st 1st 4th GS 4th GS 4th GS GS 4th 2nd 4th GS 14
 ฟิลิปปินส์ GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS 10
 สิงคโปร์ GS 3rd GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS GS 13
 ไทย 1st GS GS 3rd 3rd 4th 1st 2nd 1st GS 3rd 1st 2nd 1st 4th GS 4th 17
 ติมอร์-เลสเต GS GS 3rd GS 4th GS GS GS GS 9
 เวียดนาม 4th 4th 4th 4th 1st 3rd 4th 2nd 4th 2nd 2nd 2nd 3rd GS GS GS 3rd 17

ผลงานทีมรับเชิญ[แก้]

ทีม อินโดนีเซีย
2005
ไทย
2008
เวียดนาม
2010
เวียดนาม
2012
เวียดนาม
2014
 จีน 3rd
 ญี่ปุ่น 1st
 อิหร่าน 1st
 มัลดีฟส์ GS
 เกาหลีใต้ 2nd 3rd
 อุซเบกิสถาน 2nd
1st – ชนะเลิศ
2nd – รองชนะเลิศ
3rd – รองชนะเลิศอันดับที่ 2
4th – รองชนะเลิศอันดับที่ 3
GS – รอบแบ่งกลุ่ม
    — เจ้าภาพ

สรุปผลงานโดยแต่ละชาติ[แก้]

ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม อันดับที่สี่
 ไทย 5 (2002, 2009, 2011, 2015, 2017) 2 (2010, 2016) 3 (2006, 2007, 2014) 3 (2008, 2018, 2022)
 ออสเตรเลีย 5 (2006, 2008, 2010, 2016, 2019) 1 (2009) 1 (2012) -
 พม่า 2 (2003, 2005) 2 (2002, 2018) - 5 (2007, 2011, 2014, 2017, 2019)
 มาเลเซีย 2 (2018, 2022) 6 (2003, 2005, 2006, 2007, 2017, 2019) 1 (2011) 2 (2009, 2015)
 เวียดนาม 1 (2007) 4 (2011, 2013, 2014, 2015) 3 (2009, 2016, 2022) 6 (2002, 2003, 2005, 2006, 2010, 2012)
 อินโดนีเซีย 1 (2013) - 3 (2017, 2018, 2019) -
 อิหร่าน 1 (2012) - - -
 ญี่ปุ่น 1 (2014) - - -
 เกาหลีใต้ - 1 (2008) 1 (2010) -
 อุซเบกิสถาน - 1 (2012) - -
 ลาว - 1 (2022) 3 (2002, 2005, 2015) 1 (2013)
 ติมอร์-เลสเต - - 1 (2013) 1 (2016)
 สิงคโปร์ - - 1 (2003) -
 จีน - - 1 (2008) -

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC U19 Championship 2008 Competition Information". the-afc.com. Asian Football Confederation. 8 October 2008. สืบค้นเมื่อ 19 April 2010.
  2. "ASEAN U-20 Championship 2002". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 19 April 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]