รายการการคว่ำบาตรกีฬาโอลิมปิก
หน้าตา
การคว่ำบาตรในกีฬาโอลิมปิก เป็นการแสดงออกทางการเมืองของคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ เพื่อประท้วงหรือต่อต้านประเทศเจ้าภาพหรือประเทศสมาชิกอื่น ๆ ด้วยการไม่เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกในครั้งนั้น ๆ การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถือเป็นกิจกรรมที่มีการแข่งขันหลายกีฬาใหญ่ที่สุด มีการคว่ำบาตรอยู่ทั้งหมด 7 ครั้งของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน การคว่ำบาตรครั้งแรกเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 และการคว่ำบาตรครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ประเทศโรดีเชียเป็นประเทศเดียวที่ไม่มีสิทธิ์ในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน เกิดเหตุเมื่อการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติยกเลิกการให้ประเทศโรดีเชียเข้าร่วม เนื่องจากบางประเทศในกลุ่มแอฟริกันประท้วง
รายการการคว่ำบาตรทั้งหมด
[แก้]การแข่งขัน | ปี | ประเทศเจ้าภาพ | เมืองเจ้าภาพ | ประเทศที่คว่ำบาตร | |
---|---|---|---|---|---|
รายชื่อ | แผนที่ | ||||
ฤดูร้อน 1936 | 1936 | ไรช์เยอรมัน | เบอร์ลิน | ||
ฤดูร้อน 1956 | 1956 | ออสเตรเลีย | เมลเบิร์น | ||
ฤดูร้อน 1964 | 1964 | ญี่ปุ่น | โตเกียว | ||
ฤดูร้อน 1976 | 1976 | แคนาดา | มอนทรีออล | ||
ฤดูร้อน 1980 | 1980 | สหภาพโซเวียต | มอสโก |
|
|
ฤดูร้อน 1984 | 1984 | สหรัฐ | ลอสแอนเจลิส | ||
ฤดูร้อน 1988 | 1988 | เกาหลีใต้ | โซล |
รายการการคว่ำบาตรบางส่วน
[แก้]การแข่งขัน | ปี | ประเทศเจ้าภาพ | เมืองเจ้าภาพ | ประเทศที่คว่ำบาตร | |
---|---|---|---|---|---|
รายชื่อ | แผนที่ | ||||
ฤดูร้อน 2020 | 2020 | ญี่ปุ่น | โตเกียว | ||
ฤดูหนาว 2022 | 2022 | จีน | ปักกิ่ง |
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ เนื่องจากสงครามภายในประเทศ
- ↑ สหภาพโซเวียตไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันจนถึงปี พ.ศ. 2495
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Tokyo Olympics: North Korea to skip Games over Covid-19 fears". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2021-04-06. สืบค้นเมื่อ 2022-07-17.
- ↑ "Lithuania confirms diplomatic boycott of Beijing 2022 Winter Olympics". ANI News. 3 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ CNN, Allie Malloy and Kate Sullivan. "White House announces US diplomatic boycott of 2022 Winter Olympics in Beijing". CNN. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ "Australia joins diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics". ABC News (ภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย). 7 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ "UK 'effectively' plans a diplomatic boycott of Beijing Winter Olympics, joining the United States, Australia and Lithuania". chicagotribune.com. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ Tasker, John Paul (8 December 2021). "Trudeau announces diplomatic boycott of Beijing Olympics". CBC/Radio-Canada. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ "Kosovo boycotts Beijing Winter Olympics". Alsat News. 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 8 December 2021.
- ↑ 8.0 8.1 "Which Countries Are Boycotting China's Winter Olympics? Full List". Newsweek. 8 December 2021. สืบค้นเมื่อ 18 December 2021.
- ↑ "Denmark to join diplomatic boycott of Beijing Olympics over human rights". Reuters. 14 January 2022. สืบค้นเมื่อ 14 January 2022.
- ↑ "Taiwan to boycott Beijing Winter Olympics: source". taipeitimes.com. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 26 January 2022.
- ↑ IndiaToday, Geeta Mohan 3rd Feb'22. "Indian diplomats to boycott Beijing Winter Olympics after China makes Galwan PLA soldier torchbearer". IndiaToday. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.