ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามบินอุตรดิตถ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Tomarzig (คุย | ส่วนร่วม)
ไม้ยมก
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{Infobox airport
{{Infobox airport
| name = สนามบินอุตรดิตถ์
| name = สนามบินอุตรดิตถ์
| image = ไฟล์:สนามบินอุตรดิตถ์.jpg
| image =
| IATA =
| IATA =
| ICAO =
| ICAO =
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
}}
}}


'''สนามบินอุตรดิตถ์''' หรือสนามบินวังยาง ตั้งอยู่ บ้านวังยาง หมู่ 2 ต.ผาจุก อ.เมือง [[จังหวัดอุตรดิตถ์|จ.อุตรดิตถ์ ]] ใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์]] ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ไปทางถนนทางหลวงศิลาอาสน์-เขื่อนสิริกิติ์ (ทางหลวงหมายเลข 1045) ประมาณ 23 กิโลเมตร มีพื้นทั้งหมด 1,085 ไร่ ปัจจุบันมอบพื้นที่จำนวน 700 ไร่ ให้เป็นสถานที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และพื้นที่สนามบินเป็นกรรมสิทธิ์ของอบต.ผาจุก
'''สนามบินอุตรดิตถ์''' หรือสนามบินวังยาง ตั้งอยู่ บ้านวังยาง หมู่ 2 ต.ผาจุก อ.เมือง [[จังหวัดอุตรดิตถ์|จ.อุตรดิตถ์ ]] ใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์]] ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ไปทางถนนทางหลวงศิลาอาสน์-เขื่อนสิริกิติ์ (ทางหลวงหมายเลข 1045) ประมาณ 23 กิโลเมตร มีพื้นทั้งหมด 1,085 ไร่ ปัจจุบันมอบพื้นที่จำนวน 700 ไร่ ให้เป็นสถานที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และพื้นที่สนามบินเป็นกรรมสิทธิ์ของอบต.ผาจุก


== ประวัติ ==
==ประวัติ==
เดิมเป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อพื่อการขนส่งทางอากาศ ในการก่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์ และต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มี เที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน (ดอนเมือง-อุตรดิตถ์) แล้วปิดตัวลง ต่อมาในปีพ.ศ. 2553 มีการจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการจัดตั้งวิทยาเขตของ[[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]] <ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1290657769&grpid=03&catid=00 "ผาจุก"เลิกฝันสนามบินร้าง ยกพื้นที่700ไร่ถวายพระเทพฯ]</ref>
เดิมเป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อพื่อการขนส่งทางอากาศ ในการก่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์ และต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มี เที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน (ดอนเมือง-อุตรดิตถ์) แล้วปิดตัวลง ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 มีการจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการจัดตั้งวิทยาเขตของ[[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]]<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1290657769&grpid=03&catid=00 "ผาจุก"เลิกฝันสนามบินร้าง ยกพื้นที่700ไร่ถวายพระเทพฯ]</ref>


=== สายการบินที่เคยให้บริการ ===
===สายการบินที่เคยให้บริการ===
* [[การบินไทย]] - (กรุงเทพฯ-'''[[ท่าอากาศยานดอนเมือง|ดอนเมือง]]''')
* [[การบินไทย]] - (กรุงเทพฯ-'''[[ท่าอากาศยานดอนเมือง|ดอนเมือง]]''')


== การใช้ประโยชน์ ==
== การใช้ประโยชน์ ==
ไม่มีการใช้ประโยชน์ใดๆในปัจจุบัน
ไม่มีการใช้ประโยชน์ใด ๆ ในปัจจุบัน


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.uttaradit.go.th เว็ปไซต์ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์]
* [http://www.uttaradit.go.th เว็บไซต์ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์]
* [http://www.rotfaithai.com รถไฟไทยดอตคอม]
* [http://www.rotfaithai.com รถไฟไทยดอตคอม]
* [http://www.moohin.com หมูหินท่องเที่ยว]
* [http://www.moohin.com หมูหินท่องเที่ยว]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:04, 21 ธันวาคม 2560

สนามบินอุตรดิตถ์
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสนามบินพาณิชย์, สนามบินกรมการขนส่งทางอากาศ
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
N/A 1,250 1,000 ลาดยาง

สนามบินอุตรดิตถ์ หรือสนามบินวังยาง ตั้งอยู่ บ้านวังยาง หมู่ 2 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ไปทางถนนทางหลวงศิลาอาสน์-เขื่อนสิริกิติ์ (ทางหลวงหมายเลข 1045) ประมาณ 23 กิโลเมตร มีพื้นทั้งหมด 1,085 ไร่ ปัจจุบันมอบพื้นที่จำนวน 700 ไร่ ให้เป็นสถานที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์พืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และพื้นที่สนามบินเป็นกรรมสิทธิ์ของอบต.ผาจุก

ประวัติ

เดิมเป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อพื่อการขนส่งทางอากาศ ในการก่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์ และต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มี เที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน (ดอนเมือง-อุตรดิตถ์) แล้วปิดตัวลง ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 มีการจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และการจัดตั้งวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้[1]

สายการบินที่เคยให้บริการ

การใช้ประโยชน์

ไม่มีการใช้ประโยชน์ใด ๆ ในปัจจุบัน

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น