ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอตทัคคะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PanyaPangya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PanyaPangya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


== พระภิกษุสงฆ์ที่เป็นเอตทัคคะ ==
== พระภิกษุสงฆ์ที่เป็นเอตทัคคะ ==
{| class="wikitable"
# [[พระอัญญาโกณฑัญญะ|พระอัญญาโกณฑัญญ]]เถระ เอตทัคคะในทางรัตตัญญู (รู้ราตรีนาน-มีประสบการณ์มาก)
|[[พระอัญญาโกณฑัญญะ|พระอัญญาโกณฑัญญ]]เถระ
# [[พระอุรุเวลกัสสปะ|พระอุรุเวลกัสสป]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้มีบริวารมาก
|รัตตัญญู (รู้ราตรีนาน-มีประสบการณ์มาก)
# [[พระสารีบุตร]]เถระ (อัครสาวกฝ่ายขวา) เอตทัคคะในทางผู้มีปัญญา
|-
# [[พระมหาโมคคัลลานะ|พระมหาโมคคัลลาน]]เถระ (อัครสาวกฝ่ายซ้าย) เอตทัคคะในทางผู้มีฤทธิ์
|[[พระอุรุเวลกัสสปะ|พระอุรุเวลกัสสป]]เถระ
# [[พระปุณณมันตานีบุตร]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้เป็นพระธรรมกถิกะ
|ผู้มีบริวารมาก
# [[พระกาฬุทายี]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้ทำตระกูลให้เลื่อมใส
|-
# [[พระนันท]]เถระ (ศากยะ) เอตทัคคะในทางผู้สำรวมอินทรีย์
|[[พระสารีบุตร]]เถระ (อัครสาวกฝ่ายขวา)
# [[พระราหุล]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้ใคร่ในการศึกษา
|ผู้มีปัญญา
# [[พระอุบาลี]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้ทรงพระวินัย
|-
# [[พระภัททิย]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้เกิดในตระกูลสูง
|[[พระมหาโมคคัลลานะ|พระมหาโมคคัลลาน]]เถระ (อัครสาวกฝ่ายซ้าย)
# [[พระอนุรุทธ]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้มีทิพยจักษุญาณ
|ผู้มีฤทธิ์
# [[พระอานนท์|พระอานนท]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้เป็นพหูสูต ผู้มีสติ ผู้มีคติ ผู้มีความเพียร และเป็นพุทธอุปัฏฐาก
|-
# [[พระโมฆราช]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้ยินดีในจีวรเศร้าหมอง
|[[พระปุณณมันตานีบุตร]]เถระ
# [[พระปิณโฑลภารทวาช]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้บันลือสีหนาท
|ผู้เป็นพระธรรมกถิกะ
# [[พระมหากัจจายน]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร
|-
# [[พระสีวลี]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้มีลาภมาก
|[[พระกาฬุทายี]]เถระ
# [[พระโสณกุฏิกัณณเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้แสดงธรรมด้วยถ้อยคำอันไพเราะ
|ผู้ทำตระกูลให้เลื่อมใส
# [[พระมหากัสสปะ|พระมหากัสสป]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้ทรงธุดงค์
|-
# [[พระราธเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้ทรงปฏิภาณ (ญาณแจ่มแจ้งในพระธรรมเทศนา)
|[[พระนันท]]เถระ (ศากยะ)
# [[พระลกุณฏกภัททิยเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้มีเสียงไพเราะ
|ผู้สำรวมอินทรีย์
# [[พระทัพพมัลลบุตรเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้จัดเสนาสนะ
|-
# [[พระพากุลเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้มีโรคาพาธน้อย
|[[พระราหุล]]เถระ
# [[พระวักกลิ]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้สัทธาธิมุต (หลุดพ้นกิเลสด้วยศรัทธา)
|ผู้ใคร่ในการศึกษา
# [[พระมหากัปปินเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้ให้โอวาทภิกษุบริษัท
|-
# [[พระอุปเสนเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้นำซึ่งความเลื่อมใสโดยรอบในหมู่ชนทั้งชั้นสูงและชั้นต่ำ
|[[พระอุบาลี]]เถระ
# [[พระขทิรวนิยเรวตเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้อยู่ป่า
|ผู้ทรงพระวินัย
# [[พระสุภูติเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้อรณวิหาร (เจริญฌานประกอบด้วยเมตตา) และผู้เป็นทักขิไณยบุคคล
|-
# [[พระพาหิยทารุจีริยเถระ]] เอตทัคคะในทางขิปปาภิญญา (ตรัสรู้เร็วพลัน)
|[[พระภัททิย]]เถระ
# [[พระวังคีสเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้มีปัญญาปฏิภาณฉลาดในการผูกเป็นบทบาทคาถา
|ผู้เกิดในตระกูลสูง
# [[พระโสณโกฬิวิสเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้ปรารภความเพียร
|-
# [[พระโสภิตเถระ]] เอตทัคคะในทางระลึกปุพเพนิวาสานุสติญาณ
|[[พระอนุรุทธ]]เถระ
# พระนันทกเถระ (มิใช่ศิษย์พราหมณ์พาวรี) เอตทัคคะในทางผู้ให้โอวาทภิกษุณี
|ผู้มีทิพยจักษุญาณ
# [[พระกังขาเรวตเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้ยินดีในฌานสมบัติ
|-
# [[พระมหาปันถกเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้เจริญวิปัสสนา
|[[พระอานนท์|พระอานนท]]เถระ
# [[พระจูฬปันถก]]เถระ เอตทัคคะในทางผู้ชำนาญในมโนมยิทธิ
|ผู้เป็นพหูสูต ผู้มีสติ ผู้มีคติ ผู้มีความเพียร และเป็นพุทธอุปัฏฐาก
# [[พระกุณฑธานเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้จับสลากเป็นปฐม
|-
# [[พระรัฐบาลเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้บวชด้วยศรัทธา
|[[พระโมฆราช]]เถระ
# [[พระกุมารกัสสปเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้แสดงธรรมอันวิจิตร
|ผู้ยินดีในจีวรเศร้าหมอง
# [[พระมหาโกฎฐิตเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา 4
|-
# [[พระสาคตเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้ฉลาดในเตโชกสิณสมาบัติ
|[[พระปิณโฑลภารทวาช]]เถระ
# [[พระปิลินทวัจฉเถระ]] เอตทัคคะในทางผู้เป็นที่รักใคร่ของเทพยดา
|ผู้บันลือสีหนาท
|-
|[[พระมหากัจจายน]]เถระ
|ผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร
|-
|[[พระสีวลี]]เถระ
|ผู้มีลาภมาก
|-
|[[พระโสณกุฏิกัณณเถระ]]
|ผู้แสดงธรรมด้วยถ้อยคำอันไพเราะ
|-
|[[พระมหากัสสปะ|พระมหากัสสป]]เถระ
|ผู้ทรงธุดงค์
|-
|[[พระราธเถระ]]
|ผู้ทรงปฏิภาณ (ญาณแจ่มแจ้งในพระธรรมเทศนา)
|-
|[[พระลกุณฏกภัททิยเถระ]]
|ผู้มีเสียงไพเราะ
|-
|[[พระทัพพมัลลบุตรเถระ]]
|ผู้จัดเสนาสนะ
|-
|[[พระพากุลเถระ]]
|ผู้มีโรคาพาธน้อย
|-
|[[พระวักกลิ]]เถระ
|ผู้สัทธาธิมุต (หลุดพ้นกิเลสด้วยศรัทธา)
|-
|[[พระมหากัปปินเถระ]]
|ผู้ให้โอวาทภิกษุบริษัท
|-
|[[พระอุปเสนเถระ]]
|ผู้นำซึ่งความเลื่อมใสโดยรอบในหมู่ชนทั้งชั้นสูงและชั้นต่ำ
|-
|[[พระขทิรวนิยเรวตเถระ]]
|ผู้อยู่ป่า
|-
|[[พระสุภูติเถระ]]
|ผู้อรณวิหาร (เจริญฌานประกอบด้วยเมตตา) และผู้เป็นทักขิไณยบุคคล
|-
|[[พระพาหิยทารุจีริยเถระ]]
|ขิปปาภิญญา (ตรัสรู้เร็วพลัน)
|-
|[[พระวังคีสเถระ]]
|ผู้มีปัญญาปฏิภาณฉลาดในการผูกเป็นบทบาทคาถา
|-
|[[พระโสณโกฬิวิสเถระ]]
|ผู้ปรารภความเพียร
|-
|[[พระโสภิตเถระ]]
|ระลึกปุพเพนิวาสานุสติญาณ
|-
|พระนันทกเถระ (มิใช่ศิษย์พราหมณ์พาวรี)
|ผู้ให้โอวาทภิกษุณี
|-
|[[พระกังขาเรวตเถระ]]
|ผู้ยินดีในฌานสมบัติ
|-
|[[พระมหาปันถกเถระ]]
|ผู้เจริญวิปัสสนา
|-
|[[พระจูฬปันถก]]เถระ
|ผู้ชำนาญในมโนมยิทธิ
|-
|[[พระกุณฑธานเถระ]]
|ผู้จับสลากเป็นปฐม
|-
|[[พระรัฐบาลเถระ]]
|ผู้บวชด้วยศรัทธา
|-
|[[พระกุมารกัสสปเถระ]]
|ผู้แสดงธรรมอันวิจิตร
|-
|[[พระมหาโกฎฐิตเถระ]]
|ผู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา 4
|-
|[[พระสาคตเถระ]]
|ผู้ฉลาดในเตโชกสิณสมาบัติ
|-
|[[พระปิลินทวัจฉเถระ]]
|ผู้เป็นที่รักใคร่ของเทพยดา
|}


== พระภิกษุณีที่เป็นเอตทัคคะ ==
== พระภิกษุณีที่เป็นเอตทัคคะ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:43, 6 กันยายน 2560

เอตทัคคะ หมายถึง ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ[1] เป็นตำแหน่งที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้พระสาวกของพระองค์ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ผู้มีความรู้ความสามารถเด่นกว่าท่านอื่น ๆ ในด้านนั้น ๆ และตำแหน่งเอตทัคคะแต่ละตำแหน่งทรงแต่งตั้งเพียงรูปเดียวท่านเดียวเท่านั้น ในแต่ละพุทธบริษัทแต่ละฝ่าย

ประวัติ

เอตทัคคะ นั้น คือ ตำแหน่งที่พระพุทธเจ้ายกย่องพุทธสาวก ว่า เป็นผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางใดหนึ่ง เป็นผู้ประเสริฐสุด ตำแหน่ง เอตทัคคะ นี้ ย่อมได้โดยเหตุ 4 ประการคือ

  1. โดยเหตุเกิดเรื่อง (อัตถุปปัตติ) คือ ได้แสดงความสามารถออกมาให้ปรากฏโดยสอดคล้องในเหตุการณ์หรือสถานการณ์นั้นๆ ที่เกิดขึ้น
  2. โดยการมาก่อน (อาคมนะ) คือได้สร้างบุญสะสมในด้านนั้นมาตั้งแต่อดีตชาติพร้อมทั้งได้ตั้งจิตปรารถนาเพื่อได้ตำแหน่งเอตทัคคะนี้ด้วย
  3. โดยเป็นผู้ช่ำชองชำนาญ (จิณณวสี) คือได้เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องนั้นๆ เป็นพิเศษ
  4. โดยเป็นผู้ยิ่งด้วยคุณ (คุณาติเรก) คือมีความสามารถในเรื่องที่ทำให้ได้รับตำแหน่งเอตทัคคะเหนือกว่าผู้อื่นที่มีความสามารถอย่างเดียวกัน

ผู้ที่เป็นเอตทัคคะ

  1. เอตทัคคะ ฝ่ายพระภิกษุ มี 41 ท่าน เป็นพระอสีติมหาสาวกทั้งหมด
  2. เอตทัคคะ ฝ่ายพระภิกษุณี มี 13 ท่าน
  3. เอตทัคคะ ฝ่ายอุบาสก มี 10 ท่าน
  4. เอตทัคคะ ฝ่ายอุบาสิกา มี 10 ท่าน

พระภิกษุสงฆ์ที่เป็นเอตทัคคะ

พระอัญญาโกณฑัญญเถระ รัตตัญญู (รู้ราตรีนาน-มีประสบการณ์มาก)
พระอุรุเวลกัสสปเถระ ผู้มีบริวารมาก
พระสารีบุตรเถระ (อัครสาวกฝ่ายขวา) ผู้มีปัญญา
พระมหาโมคคัลลานเถระ (อัครสาวกฝ่ายซ้าย) ผู้มีฤทธิ์
พระปุณณมันตานีบุตรเถระ ผู้เป็นพระธรรมกถิกะ
พระกาฬุทายีเถระ ผู้ทำตระกูลให้เลื่อมใส
พระนันทเถระ (ศากยะ) ผู้สำรวมอินทรีย์
พระราหุลเถระ ผู้ใคร่ในการศึกษา
พระอุบาลีเถระ ผู้ทรงพระวินัย
พระภัททิยเถระ ผู้เกิดในตระกูลสูง
พระอนุรุทธเถระ ผู้มีทิพยจักษุญาณ
พระอานนทเถระ ผู้เป็นพหูสูต ผู้มีสติ ผู้มีคติ ผู้มีความเพียร และเป็นพุทธอุปัฏฐาก
พระโมฆราชเถระ ผู้ยินดีในจีวรเศร้าหมอง
พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ผู้บันลือสีหนาท
พระมหากัจจายนเถระ ผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร
พระสีวลีเถระ ผู้มีลาภมาก
พระโสณกุฏิกัณณเถระ ผู้แสดงธรรมด้วยถ้อยคำอันไพเราะ
พระมหากัสสปเถระ ผู้ทรงธุดงค์
พระราธเถระ ผู้ทรงปฏิภาณ (ญาณแจ่มแจ้งในพระธรรมเทศนา)
พระลกุณฏกภัททิยเถระ ผู้มีเสียงไพเราะ
พระทัพพมัลลบุตรเถระ ผู้จัดเสนาสนะ
พระพากุลเถระ ผู้มีโรคาพาธน้อย
พระวักกลิเถระ ผู้สัทธาธิมุต (หลุดพ้นกิเลสด้วยศรัทธา)
พระมหากัปปินเถระ ผู้ให้โอวาทภิกษุบริษัท
พระอุปเสนเถระ ผู้นำซึ่งความเลื่อมใสโดยรอบในหมู่ชนทั้งชั้นสูงและชั้นต่ำ
พระขทิรวนิยเรวตเถระ ผู้อยู่ป่า
พระสุภูติเถระ ผู้อรณวิหาร (เจริญฌานประกอบด้วยเมตตา) และผู้เป็นทักขิไณยบุคคล
พระพาหิยทารุจีริยเถระ ขิปปาภิญญา (ตรัสรู้เร็วพลัน)
พระวังคีสเถระ ผู้มีปัญญาปฏิภาณฉลาดในการผูกเป็นบทบาทคาถา
พระโสณโกฬิวิสเถระ ผู้ปรารภความเพียร
พระโสภิตเถระ ระลึกปุพเพนิวาสานุสติญาณ
พระนันทกเถระ (มิใช่ศิษย์พราหมณ์พาวรี) ผู้ให้โอวาทภิกษุณี
พระกังขาเรวตเถระ ผู้ยินดีในฌานสมบัติ
พระมหาปันถกเถระ ผู้เจริญวิปัสสนา
พระจูฬปันถกเถระ ผู้ชำนาญในมโนมยิทธิ
พระกุณฑธานเถระ ผู้จับสลากเป็นปฐม
พระรัฐบาลเถระ ผู้บวชด้วยศรัทธา
พระกุมารกัสสปเถระ ผู้แสดงธรรมอันวิจิตร
พระมหาโกฎฐิตเถระ ผู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา 4
พระสาคตเถระ ผู้ฉลาดในเตโชกสิณสมาบัติ
พระปิลินทวัจฉเถระ ผู้เป็นที่รักใคร่ของเทพยดา

พระภิกษุณีที่เป็นเอตทัคคะ

  1. พระมหาปชาบดีเถรี เอตทัคคะในทางผู้รัตตัญญู
  2. พระเขมาเถรี เอตทัคคะในทางผู้มีปัญญา
  3. พระอุบลวรรณาเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้มีฤทธิ์
  4. พระปฏาจาราเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้ทรงพระวินัย
  5. พระนันทาเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้ยินดีในฌาน
  6. พระธรรมทินนาเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้เป็นธรรมกถิกะ
  7. พระโสณาเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้ปรารภความเพียร
  8. พระสกุลาเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้มีทิพยจักษุ
  9. พระภัททากุณฑลเกสาเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้ตรัสรู้เร็วพลัน
  10. พระภัททกาปิลานีเถรี เอตทัคคะในทาง ผู้มีปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ระลึกชาติได้)
  11. พระภัททากัจจานาเถรี (พระนางยโสธรา) เอตทัคคะในทาง ผู้บรรลุมหาภิญญา
  12. พระกีสาโคตมีเถรี เอตทัคคะในทางผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง
  13. พระสิงคาลมาตาเถรี เอตทัคคะในทางผู้พ้นกิเลสด้วยศรัทธา

อุบาสกที่เป็นเอตทัคคะ

  1. ตปุสสะและภัลลิกะ เอตทัคคะในทางผู้ถึงสรณะก่อน
  2. อนาถปิณฑิกเศรษฐี เอตทัคคะในทางผู้เป็นทายก
  3. จิตตคฤหบดี เอตทัคคะในทางผู้เป็นธรรมกถิกะ
  4. หัตถกอุบาสก เอตทัคคะในทางผู้สงเคราะห์บริษัทด้วยสังคหวัตถุ 4
  5. พระเจ้ามหานามะ เอตทัคคะในทางผู้ถวายปัจจัย 4 อันประณีต
  6. อุคคคหบดี เอตทัคคะในทางผู้ถวายโภชนะเป็นที่ชอบใจ
  7. อุคคตคหบดี เอตทัคคะในทางผู้เป็นสังฆอุปัฏฐาก
  8. สูรัมพัฏฐเศรษฐี เอตทัคคะในทางผู้เลื่อมใสอย่างมั่นคง
  9. ชีวกโกมารภัจจ์ เอตทัคคะในทางเป็นที่รักของปวงชน
  10. นกุลปิตาคหบดี เอตทัคคะในทางผู้มีความคุ้นเคยในพระพุทธเจ้า

อุบาสิกาที่เป็นเอตทัคคะ

  1. นางสุชาดา เอตทัคคะในทางผู้ถึงพระรัตนตรัยก่อน
  2. นางวิสาขา เอตทัคคะในทางผู้เป็นทายิกา
  3. นางขุชชุตตรา เอตทัคคะในทางผู้เป็นพหูสูต
  4. นางสามาวดี เอตทัคคะในทางผู้มีปกติอยู่ด้วยเมตตา
  5. นางอุตตรา (นันทมาตา) เอตทัคคะในทางผู้ยินดีในฌาน
  6. นางสุปปวาสา เอตทัคคะในทางผู้ถวายรสอันประณีต
  7. นางสุปปิยา เอตทัคคะในทางผู้เป็นคิลานุปัฏฐาก
  8. นางกาติยานี เอตทัคคะในทางผู้เลื่อมใสมั่นคง
  9. นางกาฬี (อุบาสิกาชาวกุรุรฆริกา) เอตทัคคะในทางผู้เลื่อมใสโดยได้ยินได้ฟังตาม
  10. นางนกุลมาตาคหปตานี เอตทัคคะในทางผู้มีความคุ้นเคยในพระพุทธเจ้า

อ้างอิง

  • ชีวประวัติพุทธสาวก ประวัติพระอัจฉริยะมหาเถระเมื่อครั้งพุทธกาล เล่ม 1 จำเนียร ทรงฤกษ์, 2542, พิมพ์โดยสำนักปฏิบัติธรรมสวนแก้ว (สาขาวัดปากน้ำ), สำนักพิมพ์ธรรมสภา ISBN 974-7276-30-5
  1. ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. หน้า 1,433. ISBN 978-616-7073-56-9

แหล่งข้อมูลอื่น