ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานนครราชสีมา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peachthestar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 69: บรรทัด 69:
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานเชียงใหม่|เชียงใหม่ (CNX)]] || ภายในประเทศ
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานเชียงใหม่|เชียงใหม่ (CNX)]] || ภายในประเทศ
|-
|-
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานภูเก็ต|ภูเก็ต (HKT)]]<ref>https://www.matichon.co.th/news/683544</ref> || ภายในประเทศ
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพ (ดอนเมือง) (DMK)]]
|-
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพ (ดอนเมือง) (DMK)]]<ref>https://www.ngairways.com/detailbanner-dmk-nak</ref> || ภายในประเทศ
|-
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานกระบี่|กระบี่ (KBV)]] || ภายในประเทศ (มีแผนเปิดให้บริการภายในปี 2561)
|-
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานหาดใหญ่|หาดใหญ่ (HDY)]]<ref>http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/783896</ref> || ภายในประเทศ (มีแผนเปิดให้บริการภายในปี 2561)
|-
| !! style="width:180px"| [[ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน|โซล-อินช็อน (ICN)]]<ref>http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/783896</ref> || bgcolor = "#33FFCC" |'''ระหว่างประเทศ''' (มีแผนเปิดให้บริการภายในปี 2561)
|-
| !! style="width:180px"| [[ประเทศจีน|หัวเมืองหลักในประเทศจีน]] || bgcolor = "#33FFCC" |'''ระหว่างประเทศ''' (ยังไม่ระบุจุดหมายปลายทาง มีแผนเปิดให้บริการภายในปี 2561)
|-
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:18, 20 มกราคม 2561

ท่าอากาศยานนครราชสีมา
  • IATA: NAK
  • ICAO: VTUQ
    NAKตั้งอยู่ในประเทศไทย
    NAK
    NAK
    ตำแหน่งของสนามบินในประเทศไทย
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
ผู้ดำเนินงานกรมท่าอากาศยาน
พื้นที่บริการจังหวัดนครราชสีมา
ที่ตั้งตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
ฐานการบินนิวเจนแอร์เวย์
เหนือระดับน้ำทะเล765 ฟุต / 233 เมตร
พิกัด14°56′58″N 102°18′45″E / 14.94944°N 102.31250°E / 14.94944; 102.31250
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
06/24 6,890 2,100 ยางมะตอย
สถิติ (2560)
ผู้โดยสาร6,975
เที่ยวบิน152
แหล่งข้อมูล: http://www.aviation.go.th

ท่าอากาศยานนครราชสีมา หรือ สนามบินโคราช (อังกฤษ: Nakhon Ratchasima Airport) ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าช้าง อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติหนองเต็ง-จักราช ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองนครราชสีมาไปทางทิศเหนือระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 4,625 ไร่[1] เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม[2] สร้างขึ้นเพื่อใช้แทนท่าอากาศยานกองบิน 1 นครราชสีมา ซึ่งเป็นท่าอากาศยานของกองทัพอากาศ

ท่าอากาศยานนครราชสีมาได้รับการประกาศให้เป็นท่าอากาศยานศุลกากร สามารถรองรับเที่ยวบินระหว่างประเทศได้ [3]

ประวัติ

  • พ.ศ. 2529 ท่าอากาศยานนครราชสีมาเริ่มเปิดทำการบินเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรก โดยตั้งอยู่ที่ในตัวเมือง และใช้ทางวิ่งและลานจอดของกองทัพอากาศกองบิน 1 ในการทำการบิน แต่ก็ยังประสบปัญหา เนื่องจากต้องใช้พื้นที่ของกองทัพบกซึ่งอยู่ห่างจากลานจอดประมาณ 2 กิโลเมตร ในการสร้างอาคารที่พักผู้โดยสาร เพราะกองทัพอากาศไม่สามารถจัดสรรพื้นที่บริเวณติดกับลานจอดให้กรมการบินพาณิชย์ก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสาร และยังมีปัญหาเข้าออกสนามบินของผู้โดยสาร เนื่องจากอยู่ในเขตทหารซึ่ง มีมาตรการรักษาความปลอดภัยค่อนข้าง เข้มงวด
  • พ.ศ. 2537 กรมการบินพาณิชย์ จึงจัดหาที่ก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ โดยได้พื้นที่บริเวณป่าสงวนแห่งชาติหนองเต็ง – จักราช – ตำบลสีสุก ตำบลท่าช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ และได้เริ่มก่อสร้าง
  • พ.ศ. 2540 โดยเริ่มเปิดใช้บริการในวันที่ 5 ธันวาคมสายการบินพานิชย์ที่ให้บริการในขณะนั้นจึง ย้ายไปใช้ท่าอากาศยานแห่งใหม่ทั้งหมด แต่ก็มีปัญหาเรื่องความสะดวกสบาย เพราะตั้งอยู่ห่างไกล จึงทยอยยกเลิกการบินจนหมด[4]
  • พ.ศ. 2553 สายการบินแฮปปี้แอร์เปิดเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ-นครราชสีมาอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 16 ตุลาคม และแผนเปิดเส้นทางบินไปยังเชียงใหม่และหัวหิน
  • พ.ศ. 2554 สายการบินไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์ส เริ่มทำการบินกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ในวันที่ 2 กันยายน
  • แต่เนื่องจากท่าอากาศยานแห่งใหม่นี้อยู่ห่างตัวเมืองมาก กอปรกับปัญหาด้านการคมนาคมเข้าสู่สนามบิน ทำให้ไม่เป็นที่นิยมใช้บริการ จนสายการบินต้องยกเลิกทำการบินไปในที่สุด
  • พ.ศ. 2558 สายการบินกานต์แอร์ เปิดเส้นทางการบินเชื่อมภูมิภาค นครราชสีมา - เชียงใหม่ เริ่มทำการบินวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 และต่อมาต้องยกเลิกการทำการบิน เนื่องจากปัญหาด้านใบอนุญาตทำการบิน
  • พ.ศ. 2560 สายการบินนิวเจน แอร์เวย์ส เปิดให้บริการเส้นทางบิน นครราชสีมา - เชียงใหม่, ภูเก็ต และดอนเมือง ในเดือนธันวาคม

รายชื่อสายการบิน

สายการบินและเส้นทางบิน

สายการบิน จุดหมายปลายทาง [5] หมายเหตุ
นิวเจนแอร์เวย์ เชียงใหม่ (CNX) ภายในประเทศ
กรุงเทพ (ดอนเมือง) (DMK)

สายการบินที่เคยให้บริการ

สายการบิน จุดหมายปลายทาง[6] หมายเหตุ
การบินไทย กรุงเทพ (ดอนเมือง) (DMK) ภายในประเทศ
บางกอกแอร์เวย์ กรุงเทพ (ดอนเมือง) (DMK) ภายในประเทศ
แอร์เอเชีย กรุงเทพ (ดอนเมือง) (DMK) ภายในประเทศ
แฮปปี้แอร์ กรุงเทพ (สุวรรณภูมิ) (BKK) ภายในประเทศ
ไทยรีเจียนัลแอร์ไลน์ กรุงเทพ (สุวรรณภูมิ) (BKK) ภายในประเทศ
กานต์แอร์ เชียงใหม่ (CNX) ภายในประเทศ

[7]อ้างอิง

ดูเพิ่ม