ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรละโว้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
Oouza555 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
'''อาณาจักรละโว้''' เป็นอาณาจักรโบราณใน[[มณฑล (รูปแบบการเมือง)|มณฑลอำนาจ]]แห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลาย[[ทวารวดี|ยุคทวารวดี]] แรกเริ่มมีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือ[[เมืองลพบุรี]]) ต่อมาย้ายไปที่อโยธยา (ปัจจุบันคือ[[เทศบาลเมืองอโยธยา|เมืองอโยธยา]]) ซึ่งต่อมาได้ถูกสถาปนาเป็น[[อาณาจักรอยุธยา]]
'''อาณาจักรละโว้''' เป็นอาณาจักรโบราณใน[[มณฑล (รูปแบบการเมือง)|มณฑลอำนาจ]]แห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลาย[[ทวารวดี|ยุคทวารวดี]] แรกเริ่มมีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือ[[เมืองลพบุรี]]) ต่อมาย้ายไปที่อโยธยา (ปัจจุบันคือ[[เทศบาลเมืองอโยธยา|เมืองอโยธยา]]) ซึ่งต่อมาได้ถูกสถาปนาเป็น[[อาณาจักรอยุธยา]]


ะพุทธศาสนานิกาย[[มหายาน]]
== ประวัติ ==
อ้างอิงตาม[[พงศาวดารเหนือ]] อาณาจักรละโว้ก่อตั้งโดยพระยา[[พระยากาฬวรรณดิศ|กาฬวรรณดิศ]] บุตรของพระยากากพัตร และในปีเดียวกันพระยากาฬวรรณดิศได้ตั้ง[[จุลศักราช]] เป็นศักราชประจำอาณาจักรของพระองค์ด้วย จึงสันนิษฐานได้ว่า อาณาจักรละโว้ น่าจะสถาปนาในปี [[พ.ศ. 1181]] (ค.ศ. 638)

เมืองละโว้ได้รับคติทาง[[ศาสนาพราหมณ์]]จากราช[[อาณาจักรขอม]]กัมพูชา <ref>[http://www.mfa.go.th/web/479.php?id=51 ราชอาณาจักรขอมกัมพูชา] จากเว็บไซต์ [[กระทรวงการต่างประเทศ]]</ref> และพุทธศาสนาแบบมหายานที่ขึ้นมาจากทางทิศใต้ ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16 คติความเชื่อทั้งสองนั้นเข้ากันได้และส่งเสริมการปกครองบ้านเมืองที่รวมกันเป็นราชอาณาจักรใหญ่ ดังนั้น เมืองละโว้จึงเป็นเมืองที่มีเครือข่ายความสัมพันธ์ไปถึงบ้านเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแห่งลุ่ม[[แม่น้ำมูล]] คือเมือง[[พิมาย]] ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] เมือง[[ปราส|พนมรุ้ง]] ในเขต[[จังหวัดบุรีรัมย์]] ไปจนถึงเมือง[[นครธม|พระนครหลวง]] ใน[[กัมพูชา]] ซึ่งทั้งเมืองพิมายและเมืองพนมรุ้งต่างก็มีศิลาจารึกที่แสดงอำนาจความเป็นอิสระของการเป็นเมืองหลวงปกครองดินแดนในละแวกใกล้เคียงในระดับหนึ่งด้วย ส่วนเมืองละโว้นั้น ในช่วงเวลานี้มีเอกสารประเภทตำนานที่แสดงถึงการแตกแยก ที่ทำให้เมืองหริภุญไชยซึ่งแยกออกไปปกครองตนเองโดยอิสระ เป็นอีกอาณาจักรหนึ่ง

ในระยะเวลาต่อมา เมืองละโว้มีบทบาทก่อให้เกิดเมืองหลวงขึ้นในประวัติศาสตร์ไทยอีกเมืองหนึ่ง คือ เมือง[[สุโขทัย]] ที่ขึ้นไปจัดตั้งไว้ที่ตอนบนของที่ราบฝั่ง[[แม่น้ำยม]] เมื่อประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 18 แต่หลังจากนั้นไม่นาน สุโขทัยก็แยกตัวออกเป็นอิสระอีกแว่นแคว้นหนึ่งเช่นเดียวกับเมืองหริภุญไชย เรื่องราวใน[[ศิลาจารึก]]สุโขทัย หลักที่ 2 [[วัดศรีชุม]] เรื่อง[[พ่อขุนผาเมือง]] และ[[พ่อขุนบางกลางหาว]]รบกับ[[ขอมสบาดโขลญลำพง]] อาจเป็นเรื่องราวตอนที่สุโขทัยแยกตัวออกจากเมืองละโว้ก็ได้ ส่วนเมืองละโว้นั้น ก็ได้มีการขยับขยายราชธานีลงทางใต้ ตั้งบ้านเมืองในบริเวณที่แม่น้ำ 3 สายคือ [[แม่น้ำป่าสัก]] [[แม่น้ำลพบุรี]] และ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ไหลมาบรรจบกัน และมีความสัมพันธ์กับกลุ่มเมืองสุพรรณภูมิ ต่อมาก็ได้จัดตั้ง[[กรุงศรีอยุธยา]]ขึ้นเป็นเมืองหลวงในที่สุด

เมืองสำคัญอีกเมืองหนึ่งที่อาจกล่าวว่าอยู่ในขอบเขตใกล้ทะเล[[อ่าวไทย]] คือ เมือง[[แหล่งโบราณคดีเมืองศรีมโหสถ|ศรีมโหสถ]]แห่งลุ่มน้ำบางปะกงหรือ[[แม่น้ำปราจีนบุรี]] ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ในเขตอำเภอศรีมโหสถ (โคกปีบ) [[จังหวัดปราจีนบุรี]] เป็นเมืองที่มีศาสนสถานเป็นจำนวนมาก โบราณสถานที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองนี้อาจสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 แต่โบราณสถานที่เป็นของเมืองนี้อย่างแน่นอน และเป็นศาสนสถานของพุทธศาสนาแบบเถรวาทนั้น คือ รอย[[พระพุทธบาท]]คู่ที่วัดสระมรกต ซึ่งอยู่นอกเมืองทางทิศใต้ สร้างขึ้นเมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ 14 เมืองศรีมโหสถเป็นเมืองศูนย์กลางปกครองดินแดนใกล้เคียงสืบต่อกันมา จนถึงพุทธศตวรรษที่ 17 - 18 จึงได้กลายเป็นเมืองในราช[[อาณาจักรขอม]]กัมพูชา ซึ่งมีศูนย์กลางที่เมืองพระนครหลวง และมีหลักฐานแสดงการนับถือพระพุทธศาสนานิกาย[[มหายาน]]


== การเปลี่ยนแปลงดินแดน ==
== การเปลี่ยนแปลงดินแดน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:34, 25 กรกฎาคม 2559

อาณาจักรละโว้ เป็นอาณาจักรโบราณในมณฑลอำนาจแห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลายยุคทวารวดี แรกเริ่มมีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี) ต่อมาย้ายไปที่อโยธยา (ปัจจุบันคือเมืองอโยธยา) ซึ่งต่อมาได้ถูกสถาปนาเป็นอาณาจักรอยุธยา

ะพุทธศาสนานิกายมหายาน

การเปลี่ยนแปลงดินแดน

พื้นที่อาณาจักรละโว้จะระบายด้วยสีฟ้า

อ้างอิง