ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอินทราชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4401:FDFF:1:1:CC5A:2DE2 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 223.205.110.75
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ย้อนการแก้ไขที่ 8255019 สร้างโดย 223.205.110.75 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระอินทราชา|พระอินทราชาพระองค์อื่น|พระอินทราชา}}
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระอินทราชา|พระอินทราชาพระองค์อื่น|พระอินทราชา}}
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| succession = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
| สีพิเศษ = #ffcc00
| reign = พ.ศ. 1952 - 1967 ({{อายุปีและวัน|1952|00|00|1967|00|00}})
| สีอักษร = #8f5f12
| predecessor = [[สมเด็จพระเจ้ารามราชา]]
| ภาพ =
| successor = [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
| พระบรมนามาภิไธย = สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช |พระปรมาภิไธย = สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช
| birth_style = พระราชสมภพ
|พระอิสริยยศ = สมเด็จพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
| วันพระราชสมภพ = พ.ศ. 1902
| birth_date = พ.ศ. 1882
| วันสวรรคต = พ.ศ. 1967
| death_date = พ.ศ. 1967
| father = [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]]
| พระราชบิดา = ไม่ปรากฏพระนาม
| issue = เจ้าอ้ายพระยา<br>เจ้ายี่พระยา<br>[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
| พระราชมารดา = ไม่ปรากฏพระนาม
| dynasty = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา = เจ้าอ้ายพระยา<br>เจ้ายี่พระยา<br>[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
| ทรงราชย์ = พ.ศ. 1952 - 1967
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = {{อายุปีและวัน|1952|00|00|1967|00|00}}
| รัชกาลก่อนหน้า = [[สมเด็จพระเจ้ารามราชา]]
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
| วัดประจำรัชกาล =
}}
}}


'''สมเด็จพระอินทราชา''' (เจ้านครอินทร์) หรือ '''สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช''' หรือ '''สมเด็จพระนครินทราธิราช''' เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ. 1902 พระองค์เป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ของ[[อาณาจักรอยุธยา]] เมื่อปี พ.ศ. 1952
'''สมเด็จพระอินทราชาเจ้า''' หรือ '''สมเด็จพระนครินทราธิราช''' เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1902 พระองค์เป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ของ[[อาณาจักรอยุธยา]] เมื่อปี พ.ศ. 1952


== พระราชประวัติ ==
== พระราชประวัติ ==
สมเด็จพระอินทราชา หรือ '''เจ้านครอินทร์''' เป็นพระราชโอรสในเจ้าเมือง[[สุพรรณบุรี]]และเป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] ส่วนพระชนนีมีเชื้อสาย[[ราชวงศ์พระร่วง]]แห่ง[[อาณาจักรสุโขทัย|สุโขทัย]]<ref>''การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช'', หน้า 65</ref> พระองค์ได้เสวยราชสมบัติอยู่ ณ เมืองสุพรรณบุรี จนกระทั่ง [[สมเด็จพระเจ้ารามราชา]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปครองเมืองปทาคูจามแทน
สมเด็จพระอินทราชา มีพระนามเดิมว่า '''เจ้านครอินทร์''' เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1882<ref>''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 64</ref> [[พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับเยเรเมียส ฟาน ฟลีต]] ระบุว่าพระองค์เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] และเป็นพระเชษฐาใน[[สมเด็จพระเจ้าทองลัน]]<ref name="ฟลีต30">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ เยเรเมียส ฟาน ฟลีตฯ'', หน้า 30</ref> ส่วนพระชนนีมีเชื้อสาย[[ราชวงศ์พระร่วง]]แห่ง[[อาณาจักรสุโขทัย|สุโขทัย]]<ref>''การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช'', หน้า 65</ref> [[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]] ระบุว่าพระองค์ได้เสวยราชสมบัติอยู่ ณ เมืองสุพรรณบุรี จนกระทั่ง[[สมเด็จพระเจ้ารามราชา]]ทรงพิพาทกับเจ้าเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าเสนาบดีหนีมาสวามิภักดิ์กับพระองค์ กราบทูลว่าจะชิงราชสมบัติถวาย เมื่อสมเด็จพระอินทราชาเจ้าเสด็จมาถึง เจ้าเสนาบดีจึงเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้แล้วจึงเชิญสมเด็จพระอินทราชาเจ้าขึ้นเสวยราชสมบัติ<ref name="หน้า394">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 394</ref> ขณะพระชนมายุได้ 70 พรรษา<ref name="ฟลีต30"/> ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปครองเมืองปทาคูจามแทน


สมเด็จพระอินทราชาครองราชย์ได้ 15 ปี และเสด็จสวรรคตเมื่อปี [[พ.ศ. 1967]] ในครั้งนั้นเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาพระราชโอรสของพระองค์ต่างยกพลเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อหมายในราชสมบัติ จึงเกิดการชนช้างกันขึ้น ณ สะพานป่าถ่าน จนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์ เป็นเหตุให้เจ้าสามพระยาพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่า [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
สมเด็จพระอินทราชาประชวรเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 1967<ref name="หน้า394"/> [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าทรงครองราชย์ได้ 15 ปี<ref name="หน้า50"/> แต่ฉบับฟาน ฟลีต ว่า 20 ปี<ref name="ฟลีต30"/> ในครั้งนั้นเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาพระราชโอรสของพระองค์ต่างยกพลเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อหมายในราชสมบัติ จึงเกิดการชนช้างกันขึ้น ณ สะพานป่าถ่าน จนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์ เป็นเหตุให้เจ้าสามพระยาพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่า[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]


== พระราชกรณียกิจ ==
== พระราชกรณียกิจ ==
=== ด้านการปกครอง ===
=== ด้านการปกครอง ===
เมื่อปี พ.ศ. 1962 [[พระมหาธรรมราชาที่ 3]] เสด็จสวรรคต [[หัวเมืองเหนือ]]ทั้งปวงเป็นจลาจลอันเนื่องมาจาก[[พระยาบาลเมือง]]และ[[พระยารามแห่งสุโขทัย|พระยาราม]]พระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติแห่ง[[กรุงสุโขทัย]]กัน เป็นเหตุให้พระองค์ต้องเสด็จขึ้นไปถึง[[เมืองพระบาง]] แล้วทรงไกล่เกลี่ยให้พระยาบาลเมืองเป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[กรุงสุโขทัย]]ครองเมือง[[พิษณุโลก]]อันเป็นเมืองหลวงและให้พระยารามเป็นเจ้าเมือง[[สุโขทัย]]อันเป็นเมืองเอก และพระองค์ยังได้ขอพระราชธิดาแห่งกรุงสุโขทัยคือ '''พระราชเทวี''' กลับมาแต่งงานกับรัชทายาทพระองค์เล็กของพระองค์คือ [[เจ้าสามพระยา]] (ต่อมาได้ให้กำเนิด[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]])
เมื่อปี พ.ศ. 1962 [[พระมหาธรรมราชาที่ 3]] เสด็จสวรรคต [[หัวเมืองเหนือ]]ทั้งปวงเป็นจลาจลอันเนื่องมาจาก[[พระยาบาลเมือง]]และ[[พระยารามแห่งสุโขทัย|พระยาราม]]พระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติแห่ง[[กรุงสุโขทัย]]กัน เมื่อพระองค์ต้องเสด็จขึ้นไปถึง[[เมืองพระบาง]] ทั้งพระยาบาลเมืองและพระยารามได้ออกมาถวายบังคม<ref name="หน้า50">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 50</ref> เมื่อพระองค์เสด็จกลับกรุงศรีอยุธยาจึงพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสไปครองเมืองอันเป็นเมืองลูกหลวง ได้แก่
* '''เจ้าอ้ายพระยา''' ครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] ซึ่งเป็นเมืองลูกหลวง

นอกจากนี้ พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสไปครองเมืองอันเป็นเมืองลูกหลวง ได้แก่
* '''เจ้าอ้ายพระยา''' ครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] ซึ่งเป็น[[เมืองลูกหลวง]]
* '''เจ้ายี่พระยา''' ครองเมือง[[แพรกศรีราชา]] (เมืองสรรค์) (บริเวณ[[อำเภอสรรคบุรี]] [[จังหวัดชัยนาท]])
* '''เจ้ายี่พระยา''' ครองเมือง[[แพรกศรีราชา]] (เมืองสรรค์) (บริเวณ[[อำเภอสรรคบุรี]] [[จังหวัดชัยนาท]])
* '''[[เจ้าสามพระยา]]''' ครองเมืองชัยนาท ([[พิษณุโลก]]) ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านทางด้านเหนือ
* '''[[เจ้าสามพระยา]]''' ครองเมืองชัยนาท ([[พิษณุโลก]]) ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านทางด้านเหนือ
นอกจากนี้พระองค์ยังได้ขอพระราชธิดาแห่งกรุงสุโขทัยคือ '''พระราชเทวี''' กลับมาแต่งงานกับรัชทายาทพระองค์เล็กของพระองค์คือเจ้าสามพระยา (ต่อมาได้ให้กำเนิด[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]])


=== ด้านการต่างประเทศ ===
=== ด้านการต่างประเทศ ===
เจ้านครอินทร์เคยเสด็จไปเมือง[[จีน]]ในปี [[พ.ศ. 1920]] เมื่อครั้งยังครอง[[แคว้นสุพรรณภูมิ|เมืองสุพรรณบุรี]]ในฐานะเจ้านครอินทร์ [[จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน|พระเจ้าเจี้ยนเหวิน แห่งราชวงศ์หมิง]]ให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์เพียงพระองค์เดียวที่เคยเสด็จไปถึง[[ประเทศจีน|ราชสำนักจีน]] โดยจดหมายเหตุทางจีนออกพระนามพระองค์ว่า "เจียวลกควนอิน" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทร์
เจ้านครอินทร์เคยเสด็จไปเมือง[[จีน]]ในปี พ.ศ. 1920 เมื่อครั้งยังครอง[[แคว้นสุพรรณภูมิ|เมืองสุพรรณบุรี]]ในฐานะเจ้านครอินทร์ [[จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน|พระเจ้าเจี้ยนเหวิน แห่งราชวงศ์หมิง]]ให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์เพียงพระองค์เดียวที่เคยเสด็จไปถึง[[ประเทศจีน|ราชสำนักจีน]] โดยจดหมายเหตุทางจีนออกพระนามพระองค์ว่า "เจียวลกควนอิน" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทร์


เมื่อ[[สมเด็จพระรามราชาธิราช]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา หลังจากนั้น พระองค์และพระเจ้ากรุงจีนได้แต่งราชทูตเพื่อเจริญทางพระราชไมตรีระหว่างกันอีกหลายครั้ง โดยจดหมายเหตุจีนออกพระนามพระองค์หลังขึ้นครองราชสมบัติแล้วว่า "เจียวลกควนอินตอล่อทีล่า" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทราธิราช
เมื่อ[[สมเด็จพระรามราชาธิราช]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา หลังจากนั้น พระองค์และพระเจ้ากรุงจีนได้แต่งราชทูตเพื่อเจริญทางพระราชไมตรีระหว่างกันอีกหลายครั้ง โดยจดหมายเหตุจีนออกพระนามพระองค์หลังขึ้นครองราชสมบัติแล้วว่า "เจียวลกควนอินตอล่อทีล่า" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทราธิราช
== รายการอ้างอิง ==

; เชิงอรรถ
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|2}}
; บรรณานุกรม
* {{cite book
{{เริ่มอ้างอิง}}
| last =
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | URL = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf| พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264 | หน้า = 64-66}}
| first =
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
| authorlink =
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี]]| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับเยเรเมียส ฟาน ฟลีตและผลงานคัดสรร พลตรี หม่อมราชวงศ์ ศุภวัฒย์ เกษมศรีฯ| URL = http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/500269/2552_พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา_58670.pdf| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี| ปี = 2552| ISBN = 9789746425872| จำนวนหน้า = 171}}
| title = [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]]
| publisher = สำนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์
| series = [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงนิพนธ์อธิบายประกอบ
| year = พ.ศ. 2510
| doi =
| isbn =
}}
* {{cite book
| last =
| first =
| authorlink =
| title = [[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]]
| publisher = สำนักงานพิมพ์คลังวิทยา
| series =
| year = พ.ศ. 2510
| doi =
| isbn =
}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ | ชื่อหนังสือ = การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = มติชน | ปี = 2553 | ISBN = 978-974-02-0401-5 | จำนวนหน้า = 184}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ | ชื่อหนังสือ = การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = มติชน | ปี = 2553 | ISBN = 978-974-02-0401-5 | จำนวนหน้า = 184}}
{{จบอ้างอิง}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 83: บรรทัด 57:
|ถัดไป = [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]] <br/>([[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]])
|ถัดไป = [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]] <br/>([[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]])
|วาระถัดไป = (พ.ศ. 1967 - 1991)
|วาระถัดไป = (พ.ศ. 1967 - 1991)
}}
}}
{{จบกล่อง}}
{{จบกล่อง}}
บรรทัด 89: บรรทัด 63:
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}


{{อายุขัย|1902|1967}}
{{อายุขัย|1882|1967}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุพรรณภูมิ‎]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุพรรณภูมิ‎]]
[[หมวดหมู่:ผู้ครองเมืองสุพรรณบุรี‎]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 5 มิถุนายน 2562

สมเด็จพระอินทราชา
พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
ครองราชย์พ.ศ. 1952 - 1967 (15 ปี 0 วัน)
ก่อนหน้าสมเด็จพระเจ้ารามราชา
ถัดไปสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
พระราชสมภพพ.ศ. 1882
สวรรคตพ.ศ. 1967
พระราชบุตรเจ้าอ้ายพระยา
เจ้ายี่พระยา
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
ราชวงศ์ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
พระราชบิดาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1

สมเด็จพระอินทราชาเจ้า หรือ สมเด็จพระนครินทราธิราช เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1902 พระองค์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ของอาณาจักรอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 1952

พระราชประวัติ

สมเด็จพระอินทราชา มีพระนามเดิมว่า เจ้านครอินทร์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1882[1] พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับเยเรเมียส ฟาน ฟลีต ระบุว่าพระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 และเป็นพระเชษฐาในสมเด็จพระเจ้าทองลัน[2] ส่วนพระชนนีมีเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงแห่งสุโขทัย[3] พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ได้เสวยราชสมบัติอยู่ ณ เมืองสุพรรณบุรี จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้ารามราชาทรงพิพาทกับเจ้าเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าเสนาบดีหนีมาสวามิภักดิ์กับพระองค์ กราบทูลว่าจะชิงราชสมบัติถวาย เมื่อสมเด็จพระอินทราชาเจ้าเสด็จมาถึง เจ้าเสนาบดีจึงเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้แล้วจึงเชิญสมเด็จพระอินทราชาเจ้าขึ้นเสวยราชสมบัติ[4] ขณะพระชนมายุได้ 70 พรรษา[2] ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปครองเมืองปทาคูจามแทน

สมเด็จพระอินทราชาประชวรเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 1967[4] พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ระบุว่าทรงครองราชย์ได้ 15 ปี[5] แต่ฉบับฟาน ฟลีต ว่า 20 ปี[2] ในครั้งนั้นเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาพระราชโอรสของพระองค์ต่างยกพลเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อหมายในราชสมบัติ จึงเกิดการชนช้างกันขึ้น ณ สะพานป่าถ่าน จนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์ เป็นเหตุให้เจ้าสามพระยาพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

พระราชกรณียกิจ

ด้านการปกครอง

เมื่อปี พ.ศ. 1962 พระมหาธรรมราชาที่ 3 เสด็จสวรรคต หัวเมืองเหนือทั้งปวงเป็นจลาจลอันเนื่องมาจากพระยาบาลเมืองและพระยารามพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติแห่งกรุงสุโขทัยกัน เมื่อพระองค์ต้องเสด็จขึ้นไปถึงเมืองพระบาง ทั้งพระยาบาลเมืองและพระยารามได้ออกมาถวายบังคม[5] เมื่อพระองค์เสด็จกลับกรุงศรีอยุธยาจึงพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสไปครองเมืองอันเป็นเมืองลูกหลวง ได้แก่

นอกจากนี้พระองค์ยังได้ขอพระราชธิดาแห่งกรุงสุโขทัยคือ พระราชเทวี กลับมาแต่งงานกับรัชทายาทพระองค์เล็กของพระองค์คือเจ้าสามพระยา (ต่อมาได้ให้กำเนิดสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ)

ด้านการต่างประเทศ

เจ้านครอินทร์เคยเสด็จไปเมืองจีนในปี พ.ศ. 1920 เมื่อครั้งยังครองเมืองสุพรรณบุรีในฐานะเจ้านครอินทร์ พระเจ้าเจี้ยนเหวิน แห่งราชวงศ์หมิงให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์เพียงพระองค์เดียวที่เคยเสด็จไปถึงราชสำนักจีน โดยจดหมายเหตุทางจีนออกพระนามพระองค์ว่า "เจียวลกควนอิน" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทร์

เมื่อสมเด็จพระรามราชาธิราชเกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา หลังจากนั้น พระองค์และพระเจ้ากรุงจีนได้แต่งราชทูตเพื่อเจริญทางพระราชไมตรีระหว่างกันอีกหลายครั้ง โดยจดหมายเหตุจีนออกพระนามพระองค์หลังขึ้นครองราชสมบัติแล้วว่า "เจียวลกควนอินตอล่อทีล่า" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทราธิราช

รายการอ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 64
  2. 2.0 2.1 2.2 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับ เยเรเมียส ฟาน ฟลีตฯ, หน้า 30
  3. การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช, หน้า 65
  4. 4.0 4.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 394
  5. 5.0 5.1 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 50
บรรณานุกรม
  • มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, 2554. 264 หน้า. หน้า 64-66. ISBN 978-616-7308-25-8
  • พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553. 800 หน้า. ISBN 978-616-7146-08-9
  • หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรีพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับเยเรเมียส ฟาน ฟลีตและผลงานคัดสรร พลตรี หม่อมราชวงศ์ ศุภวัฒย์ เกษมศรีฯ. กรุงเทพฯ : สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 2552. 171 หน้า. ISBN 9789746425872
  • พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553. 184 หน้า. ISBN 978-974-02-0401-5

ดูเพิ่ม

ก่อนหน้า สมเด็จพระอินทราชา ถัดไป
สมเด็จพระเจ้ารามราชา
(ราชวงศ์อู่ทอง)

(พ.ศ. 1938 - 1952)

พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
(ราชวงศ์สุพรรณภูมิ)

(พ.ศ. 1952 - 1967)
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
(ราชวงศ์สุพรรณภูมิ)

(พ.ศ. 1967 - 1991)