ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือกันดารวิถี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: cdo:Mìng-só-gé
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{คริสต์}}
{{คริสต์}}
'''พระธรรมกันดารวิถี''' ({{lang-en|Book of Numbers}}) เป็นพระธรรมเล่มที่ 4 ในหมวด[[พระธรรมเบญจบรรณ]] เนื้อหาในพระธรรมกันดารวิถี เป็น[[ประวัติศาสตร์]]ของ[[อิสราเอล]]ที่ต่อเนื่องมาจาก[[พระธรรมอพยพ]] พระธรรมกันดารวิถี แปลมาจากพระคัมภีร์ภาษาฮีบรู: ba-midbar (במדבר) ซึ่งแปลว่า"in the desert..." ซึ่งเป็นคำแรกของพระคัมภีร์ฉบับนี้ แต่ใน''ภาษาอังกฤษ'' ใช้ชือว่า '''The Book of Numbers''' เนื่องจากพระธรรมเล่มนี้ได้กล่าวถึงการทำ[[สำมะโนประชากร]]อิสราเอลถึงสองครั้ง ที่[[ภูเขาซีนาย]] และที่โมอับ ในขณะที่ภาษาไทยใช้ชื่อว่า พระธรรมกันดารวิถี เนื่องจากพระธรรมเล่มนี้กล่าวถึง[[พงศาวดาร]]ของอิสราเอลช่วงที่ต้องใช้ชีวิตในถิ่นทุรกันดาร (ทะเลทราย) เป็นเวลา 40 ปี ก่อนจะได้เข้าสู่แผ่นดิน[[คานาอัน]]
'''หนังสือกันดารวิถี'''<ref>[http://www.thaicatholicbible.com/main/old-numbers หนังสือกันดารวิถี]. คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร์</ref> ({{lang-en|Book of Numbers}}) เป็นหนังสือเล่มที่ 4 ใน[[เบญจบรรณ]] เนื้อหาเกี่ยวกับ[[ประวัติศาสตร์]]ของ[[วงศ์วานอิสราเอล]]ที่ต่อเนื่องมาจาก[[หนังสืออพยพ]] หนังสือกันดารวิถีแปลมาจาก[[คัมภีร์ฮีบรู]] ({{lang-he|ba-midbar (במדבר)}} ซึ่งแปลว่า "ในถิ่นทุรกันดาร..." ซึ่งเป็นคำแรกของคัมภีร์ฉบับนี้ แต่ใน''ภาษาอังกฤษ'' ใช้ชือว่า '''The Book of Numbers''' เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงการทำ[[สำมะโนประชากร]]อิสราเอลถึงสองครั้ง ที่[[ภูเขาซีนาย]] และที่โมอับ ในขณะที่ภาษาไทยใช้ชื่อว่า "หนังสือกันดารวิถี" เนื่องจากหนังสือเล่มนี้กล่าวถึง[[พงศาวดาร]]ของอิสราเอลช่วงที่ต้องใช้ชีวิตในถิ่นทุรกันดาร (ทะเลทราย) เป็นเวลา 40 ปี ก่อนจะได้เข้าสู่แผ่นดิน[[คานาอัน]]


เนื้อหาในพระธรรมกันดารวิถีนี้ จะแบ่งส่วนสำคัญออกได้เป็น ส่วน
เนื้อหาในหนังสือกันดารวิถีนี้ จะแบ่งส่วนสำคัญออกได้เป็น ส่วน
# การนับอิสราเอลที่[[ภูเขาซีนาย]] (บทที่ 1-2)
# การนับอิสราเอลที่[[ภูเขาซีนาย]] (บทที่ 1-2)
# การกำหนดงานให้แก่คน[[เลวี]] และพระบัญญัติเรื่องการถวายบูชา (บทที่ 3-9 บทที่ 17-19 บทที่ 28-30)
# การกำหนดงานให้แก่คน[[เลวี]] และพระบัญญัติเรื่องการถวายบูชา (บทที่ 3-9 บทที่ 17-19 บทที่ 28-30)
บรรทัด 11: บรรทัด 11:


== การนับอิสราเอลที่ภูเขาซีนาย ==
== การนับอิสราเอลที่ภูเขาซีนาย ==
จาก[[พระธรรมอพยพ]] เมื่อ[[โมเสส]]ได้รับพระบัญญัติของพระเจ้า ณ [[ภูเขาซีนาย]]นั้น พระเจ้าทรงให้โมเสสตั้งประมุขแห่งเผ่าทั้ง 12 ของอิสราเอลขึ้น และทำสำมะโนครัวประชากร[[อิสราเอล]]ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยนับได้จำนวนทั้งสิ้น 603,550 คน แบ่งเป็น
จาก[[หนังสืออพยพ]] เมื่อ[[โมเสส]]ได้รับพระบัญญัติของพระเจ้า ณ [[ภูเขาซีนาย]]นั้น พระเจ้าทรงให้โมเสสตั้งประมุขแห่งเผ่าทั้ง 12 ของอิสราเอลขึ้น และทำสำมะโนครัวประชากร[[อิสราเอล]]ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยนับได้จำนวนทั้งสิ้น 603,550 คน แบ่งเป็น
* [[เผ่ารูเบน]] จำวน 46,500 คน
* [[เผ่ารูเบน]] จำวน 46,500 คน
* [[เผ่าสิเมโอน]] จำนวน 59,300 คน
* [[เผ่าสิเมโอน]] จำนวน 59,300 คน
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
* [[เผ่าอิสสาคาร์]] จำนวน 54,400 คน
* [[เผ่าอิสสาคาร์]] จำนวน 54,400 คน
* [[เผ่าเศบูลุน]] จำนวน 57,400 คน
* [[เผ่าเศบูลุน]] จำนวน 57,400 คน
* พงศ์พันธุ์[[โยเซฟ (พระธรรมปฐมกาล)|โยเซฟ]]
* พงศ์พันธุ์[[โยเซฟ (บุตรยาโคบ)|โยเซฟ]]
** [[เผ่าเอฟราอิม]] จำนวน 45,000 คน
** [[เผ่าเอฟราอิม]] จำนวน 45,000 คน
** [[เผ่ามนัสเสห์]] จำนวน 32,200 คน
** [[เผ่ามนัสเสห์]] จำนวน 32,200 คน
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
* [[เผ่านัฟทาลี]] จำนวน 53,400 คน
* [[เผ่านัฟทาลี]] จำนวน 53,400 คน


ในการสำมะโนประชากรครั้งนั้น ไม่ได้นับรวม[[เผ่าเลวี]]เข้าไปด้วย เนื่องจากพระเจ้าทรงกำหนดงานพิเศษให้แก่ชนเผ่าเลวี โดยเฉพาะ โดยมีหน้าที่ตั้งไว้สำหรับพลับพลาของพระเจ้า มีหน้าที่ขน[[พลับพลา]] ตั้งเต็นท์อยู่รอบพลับพลา รื้อพลับพลา และตั้งพลับพลา
ในการสำมะโนประชากรครั้งนั้น ไม่ได้นับรวม[[เผ่าเลวี]]เข้าไปด้วย เนื่องจากพระเจ้าทรงกำหนดงานพิเศษให้แก่ชนเผ่าเลวีโดยเฉพาะ โดยมีหน้าที่ตั้งไว้สำหรับพลับพลาของพระเจ้า มีหน้าที่ขน[[พลับพลา]] ตั้งเต็นท์อยู่รอบพลับพลา รื้อพลับพลา และตั้งพลับพลา


== การกำหนดงานแก่คนเลวี ==
== การกำหนดงานแก่คนเลวี ==
ในการกำหนดงานแก่คน[[เผ่าเลวี|เลวี]]นั้น ได้แบ่งออกเป็นหน้าที่ตามวงศ์ (ชื่อบุตรชายของเลวี) ได้แก่วงศ์วานเกอร์โชน วงศ์วานโคอาท และวงศ์วานเมรารี โดยมีการกำหนดหน้าที่แตกต่างกัน โดยทรงกำหนดอายุของผู้เข้าปฏิบัติงานของคน[[เผ่าเลวี]] คือ ชายหนุ่มที่มีอายุตั้งแต่ 30-50 ปี<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 4 ข้อที่ 2, 30 และ 35 และพระธรรมกันดารวิถีบทที่ 8 ข้อที่ 23-26</ref> โดยวงศ์วาน[[เผ่าเลวี]]มีดังนี้
ในการกำหนดงานแก่คน[[เผ่าเลวี|เลวี]]นั้น ได้แบ่งออกเป็นหน้าที่ตามวงศ์ (ชื่อบุตรชายของเลวี) ได้แก่วงศ์วานเกอร์โชน วงศ์วานโคอาท และวงศ์วานเมรารี โดยมีการกำหนดหน้าที่แตกต่างกัน โดยทรงกำหนดอายุของผู้เข้าปฏิบัติงานของคน[[เผ่าเลวี]] คือ ชายหนุ่มที่มีอายุตั้งแต่ 30-50 ปี<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 4 ข้อที่ 2, 30 และ 35 และหนังสือกันดารวิถีบทที่ 8 ข้อที่ 23-26</ref> โดยวงศ์วาน[[เผ่าเลวี]]มีดังนี้
* วงศ์วานเกอร์โชน มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 7,500 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ข้างหลังพลับพลาด้านทิศตะวันตก โดยมีหน้าที่รับผิดชอบงานในพลับพลา ได้แก่ งาน[[พลับพลา]] งานเต็นท์ พร้อมเครื่องเต็นท์ แท่นบูชา และสิ่งของทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านี้ <ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 21-26</ref>
* วงศ์วานเกอร์โชน มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 7,500 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ข้างหลังพลับพลาด้านทิศตะวันตก โดยมีหน้าที่รับผิดชอบงานในพลับพลา ได้แก่ งาน[[พลับพลา]] งานเต็นท์ พร้อมเครื่องเต็นต์ แท่นบูชา และสิ่งของทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านี้ <ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 21-26</ref>
* วงศ์วานโคอาท มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 8,600 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ทางใต้ของ[[พลับพลา]] มีหน้าที่ดูแล[[พลับพลา|หีบพระโอวาท]] [[พลับพลา|โต๊ะขนมปัง]] [[พลับพลา|คันประทีป]] แท่นบูชาทั้งสอง และเครื่องใช้สถานนมัสการซึ่งปุโรหิตใช้งาน และม่าน <ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 27-32</ref>
* วงศ์วานโคอาท มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 8,600 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ทางใต้ของ[[พลับพลา]] มีหน้าที่ดูแล[[พลับพลา|หีบพระโอวาท]] [[พลับพลา|โต๊ะขนมปัง]] [[พลับพลา|คันประทีป]] แท่นบูชาทั้งสอง และเครื่องใช้สถานนมัสการซึ่งปุโรหิตใช้งาน และม่าน <ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 27-32</ref>
* วงศ์วานเมรารี มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 6,200 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ด้านเหนือของพลับพลา มีหน้าที่ดูแลงานไม้กรอบพลับพลา ไม้กลอน ไม้เสา ฐานรองและเครื่องประกอบทั้งหมด เสารอบลานพลับพลา พร้อมกับฐานรองหลักหมุดและเชือกโยง <ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 33-37</ref>
* วงศ์วานเมรารี มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 6,200 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ด้านเหนือของพลับพลา มีหน้าที่ดูแลงานไม้กรอบพลับพลา ไม้กลอน ไม้เสา ฐานรองและเครื่องประกอบทั้งหมด เสารอบลานพลับพลา พร้อมกับฐานรองหลักหมุดและเชือกโยง <ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 33-37</ref>
* บุคคลผู้ได้รับแต่งตั้งเป็น[[ปุโรหิต]] ได้แก่ [[โมเสส]] [[อาโรน]] และบุตรทั้งสองของอาโรน ตั้งค่ายอยู่ด้านหน้าของเต็นท์นัดพบ ด้านทิศตะวันออก มีหน้าที่ดูแลพิธีการภายในสถานนมัสการ<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 38-39</ref> และเมื่อเคลื่อนย้ายค่าย ปุโรหิตมีหน้าที่นำผ้าม่านมาห่อหุ้มบรรดาหีบพระโอวาท แท่นบูชา โต๊ะขนมปัง คันประทีป และสิ่งของทั้งสิ้นในพลับพลาตามที่พระเจ้าบัญชาไว้ แล้วจึงให้วงศ์วานโคอาทเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อ แต่ห้ามมิให้คนโคอาทเข้ามาห่อหุ้มสิ่งของต่าง ๆ <ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 4 ข้อที่ 1-15</ref>
* บุคคลผู้ได้รับแต่งตั้งเป็น[[ปุโรหิต]] ได้แก่ [[โมเสส]] [[อาโรน]] และบุตรทั้งสองของอาโรน ตั้งค่ายอยู่ด้านหน้าของเต็นต์นัดพบ ด้านทิศตะวันออก มีหน้าที่ดูแลพิธีการภายในสถานนมัสการ<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 38-39</ref> และเมื่อเคลื่อนย้ายค่าย ปุโรหิตมีหน้าที่นำผ้าม่านมาห่อหุ้มบรรดาหีบพระโอวาท แท่นบูชา โต๊ะขนมปัง คันประทีป และสิ่งของทั้งสิ้นในพลับพลาตามที่พระเจ้าบัญชาไว้ แล้วจึงให้วงศ์วานโคอาทเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อ แต่ห้ามมิให้คนโคอาทเข้ามาห่อหุ้มสิ่งของต่าง ๆ <ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 4 ข้อที่ 1-15</ref>


นอกจากนี้ พระเจ้ายังทรงมีพระบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง และเป็นงานที่ปุโรหิตต้องชำระให้คนอิสราเอลอีกหลายประการ เช่น กฎหมายเรื่องการคืนของ<ref>พระธรรมก้นดารวิถี บทที่ 5 ข้อที่ 5-10</ref> กฎหมายเรื่องความหึงหวง<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 5 ข้อที่ 11-31</ref> กฎหมายของพวกนาศีร์<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 6</ref> พระบัญญัติว่าด้วยเครื่องบูชา<ref>พระธรรมกันดารวิถีบทที่ 7</ref> พระบัญญัติว่าด้วยสิ่งของที่จัดสรรให้แก่ปุโรหิตและคนเผ่าเลวี<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 18</ref> พระบัญญัติว่าด้วยการชำระผู้ที่มีมลทิน<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 19</ref> และพระบัญญัติว่าด้วยการถวายบูชาในโอกาสต่าง ๆ<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 28-29</ref>
นอกจากนี้ พระเจ้ายังทรงมีพระบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง และเป็นงานที่ปุโรหิตต้องชำระให้คนอิสราเอลอีกหลายประการ เช่น กฎหมายเรื่องการคืนของ<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 5 ข้อที่ 5-10</ref> กฎหมายเรื่องความหึงหวง<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 5 ข้อที่ 11-31</ref> กฎหมายของพวกนาศีร์<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 6</ref> พระบัญญัติว่าด้วยเครื่องบูชา<ref>หนังสือกันดารวิถีบทที่ 7</ref> พระบัญญัติว่าด้วยสิ่งของที่จัดสรรให้แก่ปุโรหิตและคนเผ่าเลวี<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 18</ref> พระบัญญัติว่าด้วยการชำระผู้ที่มีมลทิน<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 19</ref> และพระบัญญัติว่าด้วยการถวายบูชาในโอกาสต่าง ๆ<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 28-29</ref>


== การเคลื่อนพลออกจากภูเขาซีนาย ==
== การเคลื่อนพลออกจากภูเขาซีนาย ==
ในการเคลื่อนพลออกจาก[[ภูเขาซีนาย]] [[อิสราเอล]]ได้ออกเดินทางเป็นลำดับตามที่พระเจ้าทรงตรัสสั่งโมเสสได้ดังนี้ ต้นขบวนนำโดย[[เผ่ายูดาห์]] [[เผ่าอิสสาคาร์]] [[เผ่าเศบูลุน]] และตามด้วยวงศ์วานเกอร์โชน และวงศ์วานเมรารี ตามลำดับ ต่อด้วย[[เผ่ารูเบน]] [[เผ่าสิเมโอน]] [[เผ่ากาด]] และตามด้วยวงศ์วานโคอาทตามลำดับ และปิดขบวนด้วย [[เผ่าเอฟราอิม]] [[เผ่ามนัสเสห์]] [[เผ่าเบนยามิน]] [[เผ่าดาน]] [[เผ่าอาเชอร์]] และ[[เผ่านัฟทาลี]]เป็นลำดับสุดท้าย
ในการเคลื่อนพลออกจาก[[ภูเขาซีนาย]] [[อิสราเอล]]ได้ออกเดินทางเป็นลำดับตามที่พระเจ้าทรงตรัสสั่งโมเสสได้ดังนี้ ต้นขบวนนำโดย[[เผ่ายูดาห์]] [[เผ่าอิสสาคาร์]] [[เผ่าเศบูลุน]] และตามด้วยวงศ์วานเกอร์โชน และวงศ์วานเมรารี ตามลำดับ ต่อด้วย[[เผ่ารูเบน]] [[เผ่าสิเมโอน]] [[เผ่ากาด]] และตามด้วยวงศ์วานโคอาทตามลำดับ และปิดขบวนด้วย [[เผ่าเอฟราอิม]] [[เผ่ามนัสเสห์]] [[เผ่าเบนยามิน]] [[เผ่าดาน]] [[เผ่าอาเชอร์]] และ[[เผ่านัฟทาลี]]เป็นลำดับสุดท้าย


เมื่อเคลื่อนพลไปนั้น มีอุปสรรคระหว่างการเดินทาง เนื่องด้วยคนจำนวนมาก พระเจ้าจึงทรงให้โมเสสตั้งพวกผู้ใหญ่ 70 คน ช่วยโมเสสในบรรเทางานของโมเสสลง<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 11</ref> และครั้นเมื่ออิสราเอลเบื่อมานา พระเจ้าก็ทรงประทานนกคุ่มให้พวกเขา แต่เมื่อใดที่อิสราเอลโอดครวญ หรือกระทำการอันไม่เหมาะสม ก็จะได้รับการลงโทษจากพระเจ้าตามขนาดของเขา
เมื่อเคลื่อนพลไปนั้น มีอุปสรรคระหว่างการเดินทาง เนื่องด้วยคนจำนวนมาก พระเจ้าจึงทรงให้โมเสสตั้งพวกผู้ใหญ่ 70 คน ช่วยโมเสสในบรรเทางานของโมเสสลง<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 11</ref> และครั้นเมื่ออิสราเอลเบื่อมานา พระเจ้าก็ทรงประทานนกคุ่มให้พวกเขา แต่เมื่อใดที่อิสราเอลโอดครวญ หรือกระทำการอันไม่เหมาะสม ก็จะได้รับการลงโทษจากพระเจ้าตามขนาดของเขา


== การสอดแนมแผ่นดินคานาอัน ==
== การสอดแนมแผ่นดินคานาอัน ==
บรรทัด 90: บรรทัด 90:




เมื่อทั้ง 12 นั้นกลับมาจากการสอดแนม ได้กล่าวร้ายต่อแผ่นดินนั้น โดยแจ้งว่า ถึงแม้แผ่นดินนั้นจะอุดมสมบูรณ์ แต่ผู้คนโหดร้าย กำแพงเมืองก็เข้มแข็ง ยกเว้น โยชูวา และคาเลบ ที่กล่าวให้อิสราเอลเข้ายึดครองแผ่นดินนั้น แต่คนอิสราเอลนั้นเชื่อผู้สอดแนมอีก 10 คน และไม่ยอมเดินทางเข้าแผ่นดินคานาอัน เป็นเหตุให้พระเจ้าทรงพิโรธเป็นอย่างมาก จึงทรงตรัสว่า จะให้คนอิสราเอลที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปนั้นเสียชีวิตใน[[ทะเลทราย]] และอิสราเอลต้องใช้ชีวิตอยู่ในทะเลทรายเป็นเวลา 40 ปี เท่าจำนวนวันที่ผู้สอดแนมได้ใช้เวลาในแผ่นดินคานาอัน<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 14 ข้อที่ 20-35</ref>
เมื่อทั้ง 12 นั้นกลับมาจากการสอดแนม ได้กล่าวร้ายต่อแผ่นดินนั้น โดยแจ้งว่า ถึงแม้แผ่นดินนั้นจะอุดมสมบูรณ์ แต่ผู้คนโหดร้าย กำแพงเมืองก็เข้มแข็ง ยกเว้น โยชูวา และคาเลบ ที่กล่าวให้อิสราเอลเข้ายึดครองแผ่นดินนั้น แต่คนอิสราเอลนั้นเชื่อผู้สอดแนมอีก 10 คน และไม่ยอมเดินทางเข้าแผ่นดินคานาอัน เป็นเหตุให้พระเจ้าทรงพิโรธเป็นอย่างมาก จึงทรงตรัสว่า จะให้คนอิสราเอลที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปนั้นเสียชีวิตใน[[ทะเลทราย]] และอิสราเอลต้องใช้ชีวิตอยู่ในทะเลทรายเป็นเวลา 40 ปี เท่าจำนวนวันที่ผู้สอดแนมได้ใช้เวลาในแผ่นดินคานาอัน<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 14 ข้อที่ 20-35</ref>


== การเดินทางในถิ่นทุรกันดาร ==
== การเดินทางในถิ่นทุรกันดาร ==
บรรทัด 97: บรรทัด 97:
=== กบฎโคราห์ ===
=== กบฎโคราห์ ===


โคราห์ ซึ่งเป็นเผ่าเลวี ได้ตั้งตนเป็นกบฎต่อโมเสส และได้ชักจูงให้[[เผ่าเลวี]]และอิสราเอลบางส่วนติดตามเขา เนื่องจากไม่พอใจที่โมเสส และอาโรนได้รั้งตำแหน่ง[[ปุโรหิต]]ไว้ [[โมเสส]]จึงให้พระเจ้าทรงเป็นผ่านเลือกว่าจะให้ใครเป็นผู้นำ โดยให้นำเครื่องหอมไปถวายต่อพระพักตร์พระเจ้าในสถานนมัสการ เมื่อโคราห์และพวกได้เข้าไปถวายเครื่องหอมบูชาแล้วเดินกลับออกมานอกพลับพลานั้น แผ่นดินก็ดูดคนเหล่านั้น รวมทั้งครอบครัว และข้าวของทั้งหมดของพวกเขาด้วย แต่ในครั้งนั้นอิสราเอลได้กล่าวว่า โมเสสได้พรากชีวิตของคนเหล่านั้น พระเจ้าจึงทรงได้ลงโทษคนอิสราเอล จนกระทั่งโมเสสได้ทูลขอต่อพระเจ้า และทำการถวายเครื่องบูชาลบมลทินให้ การลงทัณฑ์จึงได้ยุติลง แต่ในครั้งนั้นอิสราเอลได้เสียชีวิตไปด้วยเหตุการณ์นี้กบฏโคราห์นี้มากถึง 14,700 ตน<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 16</ref>
โคราห์ ซึ่งเป็นเผ่าเลวี ได้ตั้งตนเป็นกบฎต่อโมเสส และได้ชักจูงให้[[เผ่าเลวี]]และอิสราเอลบางส่วนติดตามเขา เนื่องจากไม่พอใจที่โมเสส และอาโรนได้รั้งตำแหน่ง[[ปุโรหิต]]ไว้ [[โมเสส]]จึงให้พระเจ้าทรงเป็นผ่านเลือกว่าจะให้ใครเป็นผู้นำ โดยให้นำเครื่องหอมไปถวายต่อพระพักตร์พระเจ้าในสถานนมัสการ เมื่อโคราห์และพวกได้เข้าไปถวายเครื่องหอมบูชาแล้วเดินกลับออกมานอกพลับพลานั้น แผ่นดินก็ดูดคนเหล่านั้น รวมทั้งครอบครัว และข้าวของทั้งหมดของพวกเขาด้วย แต่ในครั้งนั้นอิสราเอลได้กล่าวว่า โมเสสได้พรากชีวิตของคนเหล่านั้น พระเจ้าจึงทรงได้ลงโทษคนอิสราเอล จนกระทั่งโมเสสได้ทูลขอต่อพระเจ้า และทำการถวายเครื่องบูชาลบมลทินให้ การลงทัณฑ์จึงได้ยุติลง แต่ในครั้งนั้นอิสราเอลได้เสียชีวิตไปด้วยเหตุการณ์นี้กบฏโคราห์นี้มากถึง 14,700 ตน<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 16</ref>


=== ไม้เท้าของอาโรน ===
=== ไม้เท้าของอาโรน ===


จากเหตุการณ์กบฎโคราห์ พระเจ้าจึงทรงบัญชาให้โมเสสนำไม้เท้าของบรรดาหัวหน้าเผ่าทั้งหมดของอิสราเอล และไม้เท้าของอาโรนสลักชื่อ และนำเข้าไปในพลับพลา และทรงตรัสว่า จะทรงสำแดงให้เห็นว่าใครคือคนที่พระองค์ทรงเลือก เมื่อนำไม้เท้าของบรรดาหัวหน้าเผ่าเข้าไปได้ 1 วัน โมเสสจึงได้นำไม้เท้าเหล่านั้นออกมา ปรากฏว่า มีเพียงไม้เท้าของอาโรนเท่านั้น ที่ออกดอกและผลอัลมันด์ อิสราเอลจึงได้ทราบถึงบุคคลที่พระเจ้าทรงเลือกไว้<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 17</ref>
จากเหตุการณ์กบฎโคราห์ พระเจ้าจึงทรงบัญชาให้โมเสสนำไม้เท้าของบรรดาหัวหน้าเผ่าทั้งหมดของอิสราเอล และไม้เท้าของอาโรนสลักชื่อ และนำเข้าไปในพลับพลา และทรงตรัสว่า จะทรงสำแดงให้เห็นว่าใครคือคนที่พระองค์ทรงเลือก เมื่อนำไม้เท้าของบรรดาหัวหน้าเผ่าเข้าไปได้ 1 วัน โมเสสจึงได้นำไม้เท้าเหล่านั้นออกมา ปรากฏว่า มีเพียงไม้เท้าของอาโรนเท่านั้น ที่ออกดอกและผลอัลมันด์ อิสราเอลจึงได้ทราบถึงบุคคลที่พระเจ้าทรงเลือกไว้<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 17</ref>


=== ได้น้ำจากหิน ===
=== ได้น้ำจากหิน ===


เมื่ออิสราเอลเดินทางเข้าถิ่นทุรกันดารสีน เกิดการขาดน้ำและชุมชนอิสราเอลได้บ่นต่อว่าทั้งโมเสส และต่อว่าพระเจ้าต่าง ๆ นานา โมเสสได้เข้าไปทูลขอน้ำจากพระเจ้าและพระองค์ตรัสสั่งให้โมเสส บอกให้น้ำไหลออกมาจากหิน แต่เมื่อโมเสสและอาโรนได้อยู่ต่อหน้าประชาชน โทสะได้ครอบงำท่านไว้ จึงได้ใช้ไม้เท้าตีหิน น้ำจึงออกมาจากหินนั้น ด้วยเหตุการณ์ที่โมเสส และอาโรน มิได้กระทำตามที่พระเจ้าบอก ทั้งสองจึงไม่ได้รับสิทธิเข้าไปในแผ่นดินคานาอัน<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 20</ref>
เมื่ออิสราเอลเดินทางเข้าถิ่นทุรกันดารสีน เกิดการขาดน้ำและชุมชนอิสราเอลได้บ่นต่อว่าทั้งโมเสส และต่อว่าพระเจ้าต่าง ๆ นานา โมเสสได้เข้าไปทูลขอน้ำจากพระเจ้าและพระองค์ตรัสสั่งให้โมเสส บอกให้น้ำไหลออกมาจากหิน แต่เมื่อโมเสสและอาโรนได้อยู่ต่อหน้าประชาชน โทสะได้ครอบงำท่านไว้ จึงได้ใช้ไม้เท้าตีหิน น้ำจึงออกมาจากหินนั้น ด้วยเหตุการณ์ที่โมเสส และอาโรน มิได้กระทำตามที่พระเจ้าบอก ทั้งสองจึงไม่ได้รับสิทธิเข้าไปในแผ่นดินคานาอัน<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 20</ref>


=== มรณกรรมของมีเรียน และอาโรน ===
=== มรณกรรมของมีเรียนและอาโรน ===


ภายหลังจากเหตุการณ์การสอดแนมที่คานาอัน เมื่ออิสราเอลเดินทางเข้าถิ่นทุรกันดารสีน มีเรียม พี่สาวของโมเสสก็ได้เสียชีวิตลง และภายหลังเหตุการณ์ได้น้ำจากหิน เมื่ออิสราเอลเดินทางถึงภูเขาโฮร์ อาโรน ก็ได้เสียชีวิตลงที่นั่น โดยก่อนเสียชีวิต พระเจ้าทรงตรัสสั่งให้ โมเสส นำ อาโรน และเอเลอาซาร์ บุตรชายของอาโรนขึ้นไปบนภูเขา และได้ให้อาโรนทำการมอบเครื่องแต่งกายปุโรหิตให้แก่เอเลอาซาร์ แล้วท่านจึงสิ้นใจบนภูเขานั้น<ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 20</ref>
ภายหลังจากเหตุการณ์การสอดแนมที่คานาอัน เมื่ออิสราเอลเดินทางเข้าถิ่นทุรกันดารสีน มีเรียม พี่สาวของโมเสสก็ได้เสียชีวิตลง และภายหลังเหตุการณ์ได้น้ำจากหิน เมื่ออิสราเอลเดินทางถึงภูเขาโฮร์ อาโรน ก็ได้เสียชีวิตลงที่นั่น โดยก่อนเสียชีวิต พระเจ้าทรงตรัสสั่งให้ โมเสส นำ อาโรน และเอเลอาซาร์ บุตรชายของอาโรนขึ้นไปบนภูเขา และได้ให้อาโรนทำการมอบเครื่องแต่งกายปุโรหิตให้แก่เอเลอาซาร์ แล้วท่านจึงสิ้นใจบนภูเขานั้น<ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 20</ref>




[[ไฟล์:Gustav Jaeger Bileam Engel.jpg|thumb|ภาพกษัตริย์บาลาอัม จากพระธรรมกันดารวิถี บทที่ 23 โดย เจเกอร์ ไบเลียม เองเจล]]
[[ไฟล์:Gustav Jaeger Bileam Engel.jpg|thumb|ภาพกษัตริย์บาลาอัมตามหนังสือกันดารวิถี บทที่ 23 วาดโดย เจเกอร์ ไบเลียม เองเจล]]


=== บาลาค และบาลาอัม ===
=== บาลาค และบาลาอัม ===
บรรทัด 118: บรรทัด 118:
เมื่อคนอิสราเอลตั้งค่ายอยู่ใกล้คนโมอับนั้น บาลาค กษัตริย์ของคนโมอับเกรงว่าอิสราเอลจะเข้ามายึดครอง จึงได้เชิญ บาลาอัม มาทำพิธีสาปแช่งแก่อิสราเอล ฝ่ายบาลาอัมนั้น ได้เดินทางมายังบริเวณค่าย แต่ยังไม่ได้เข้าไปในเมืองโมอับนั้น พระเจ้าทรงตรัสแก่ บาลาอัม ว่า"...''เจ้าจงอย่าแช่งชนชาตินั้น เพราะเขาทั้งหลายเป็นคนที่ได้รับพร''..." แล้วบาลาอัมจึงแจ้งแก่บาลาคว่า ไม่สามารถกระทำการนั้นได้ เนื่องจากพระเจ้าทรงอยู่ข้างอิสราเอล และบาลาคก็ได้มาเชิญ บาลาอัม อีก เป็นครั้งที่สอง แต่บาลาอัมได้ปฏิเสธ และกล่าวว่า "...''แม้บาลาคจะให้เงินและทองเต็มบ้านเต็มเรือนของท่านแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะกระทำอะไรนอกเหนือจากพระบัญชาพระเยโฮวาห์ พระเจ้าของข้าพเจ้าไม่ได้''..." แต่ต่อมาพระเจ้าทรงใช้ให้บาลาอัมเดินทางไปหาบาลาคได้เฉพาะเมื่อมีคนมาเรียกให้ไป แต่บาลาอัมไม่ได้รอใหผู้มาเรียก ก็เดินทางไป พระเจ้าจึงทรงให้ทูตของพระองค์มาขวางทางเดินของลานั้น และพระเจ้าทรงเปิดปากลาให้พูดเพื่อเตือนสติบาลาอัม
เมื่อคนอิสราเอลตั้งค่ายอยู่ใกล้คนโมอับนั้น บาลาค กษัตริย์ของคนโมอับเกรงว่าอิสราเอลจะเข้ามายึดครอง จึงได้เชิญ บาลาอัม มาทำพิธีสาปแช่งแก่อิสราเอล ฝ่ายบาลาอัมนั้น ได้เดินทางมายังบริเวณค่าย แต่ยังไม่ได้เข้าไปในเมืองโมอับนั้น พระเจ้าทรงตรัสแก่ บาลาอัม ว่า"...''เจ้าจงอย่าแช่งชนชาตินั้น เพราะเขาทั้งหลายเป็นคนที่ได้รับพร''..." แล้วบาลาอัมจึงแจ้งแก่บาลาคว่า ไม่สามารถกระทำการนั้นได้ เนื่องจากพระเจ้าทรงอยู่ข้างอิสราเอล และบาลาคก็ได้มาเชิญ บาลาอัม อีก เป็นครั้งที่สอง แต่บาลาอัมได้ปฏิเสธ และกล่าวว่า "...''แม้บาลาคจะให้เงินและทองเต็มบ้านเต็มเรือนของท่านแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะกระทำอะไรนอกเหนือจากพระบัญชาพระเยโฮวาห์ พระเจ้าของข้าพเจ้าไม่ได้''..." แต่ต่อมาพระเจ้าทรงใช้ให้บาลาอัมเดินทางไปหาบาลาคได้เฉพาะเมื่อมีคนมาเรียกให้ไป แต่บาลาอัมไม่ได้รอใหผู้มาเรียก ก็เดินทางไป พระเจ้าจึงทรงให้ทูตของพระองค์มาขวางทางเดินของลานั้น และพระเจ้าทรงเปิดปากลาให้พูดเพื่อเตือนสติบาลาอัม


ครั้นแล้วพระเจ้าทรงให้บาลาอัมเดินทางไปหาบาลาค แต่ให้บาลาอัมกระทำเฉพาะในสิ่งที่พระเจ้าทรงบัญชาเท่านั้น เมื่อไปถึง บาลาคได้นำบาลาอัมไปยังเขตแดนเพื่อให้บาลาอัมสาปแช่งอิสราเอล แต่บาลาอัมกลับอวยพรให้แก่อิสราเอลว่า "...''ใครจะนับเผ่าพันธุ์ของยาโคบที่มากอย่างผงคลีดินนั้นได้ หรือนับหนึ่งในสี่ของอิสราเอลได้''..." บาลาคได้ย้ายจุดเพื่อให้บาลาอัมสาปแช่งอีก 2 ที่ แต่บาลาอัม ก็อวยพรแก่อิสราเอลทั้ง 3 ครั้ง ท่านกล่าวว่า "...''ข้าพเจ้ากระทำอะไรนอกเหนือพระบัญชาพระเจ้าไม่ได้...พระเจ้าตรัสประการใด ข้าพเจ้าก็พูดอย่างนั้น.''.." แล้วบาลาอัมก็ลากลับไปยังเมืองของท่าน <ref>พระธรรมกันดารวิถี บทที่ 21-24</ref>
ครั้นแล้วพระเจ้าทรงให้บาลาอัมเดินทางไปหาบาลาค แต่ให้บาลาอัมกระทำเฉพาะในสิ่งที่พระเจ้าทรงบัญชาเท่านั้น เมื่อไปถึง บาลาคได้นำบาลาอัมไปยังเขตแดนเพื่อให้บาลาอัมสาปแช่งอิสราเอล แต่บาลาอัมกลับอวยพรให้แก่อิสราเอลว่า "...''ใครจะนับเผ่าพันธุ์ของยาโคบที่มากอย่างผงคลีดินนั้นได้ หรือนับหนึ่งในสี่ของอิสราเอลได้''..." บาลาคได้ย้ายจุดเพื่อให้บาลาอัมสาปแช่งอีก 2 ที่ แต่บาลาอัม ก็อวยพรแก่อิสราเอลทั้ง 3 ครั้ง ท่านกล่าวว่า "...''ข้าพเจ้ากระทำอะไรนอกเหนือพระบัญชาพระเจ้าไม่ได้...พระเจ้าตรัสประการใด ข้าพเจ้าก็พูดอย่างนั้น.''.." แล้วบาลาอัมก็ลากลับไปยังเมืองของท่าน <ref>หนังสือกันดารวิถี บทที่ 21-24</ref>


== การแบ่งดินแดนคานาอัน ==
== การแบ่งดินแดนคานาอัน ==
เมื่อครบกำหนดเวลา 40 ปีที่[[อิสราเอล]]ใช้ชีวิตอยู่ใน[[ทะเลทราย]] เพื่อชดใช้ความบาปของชนรุ่นก่อน พระเจ้าทรงระลึกถึงอิสราเอล และได้ให้[[โมเสส]]ได้ดำเนินการเพื่อการเดินทางเข้าแผ่นดิน[[คานาอัน]]ต่อไป โดยได้จัดสรรแผ่นดินคานาอันให้แก่เผ่าต่าง ๆ ของอิสราเอล และการมอบอำนาจการบริหารต่าง ๆ ให้แก่คนรุ่นต่อไป
เมื่อครบกำหนดเวลา 40 ปีที่[[อิสราเอล]]ใช้ชีวิตอยู่ใน[[ทะเลทราย]] เพื่อชดใช้ความบาปของชนรุ่นก่อน พระเจ้าทรงระลึกถึงอิสราเอล และได้ให้[[โมเสส]]ได้ดำเนินการเพื่อการเดินทางเข้าแผ่นดิน[[คานาอัน]]ต่อไป โดยได้จัดสรรแผ่นดินคานาอันให้แก่เผ่าต่าง ๆ ของอิสราเอล และการมอบอำนาจการบริหารต่าง ๆ ให้แก่คนรุ่นต่อไป


[[ไฟล์:1759 map Holy Land and 12 Tribes.jpg|thumb|แผ่นดินคานาอัน และการแบ่งดินแดนตามเผ่าทั้งสิบสอง]]
[[ไฟล์:1759 map Holy Land and 12 Tribes.jpg|thumb|แผ่นดินคานาอันและการแบ่งดินแดนตามเผ่าทั้งสิบสอง]]


=== การนับประชากรที่โมอับ ===
=== การนับประชากรที่โมอับ ===
ก่อนถึงเวลาที่[[อิสราเอล]]จะได้แบ่งดินแดน[[คานาอัน]] เพื่อจะเข้ายึดครองตามพันธสัญญาที่[[พระเจ้า]]ทรงประทานให้นั้น พระเจ้าทรงให้[[โมเสส]]ทำ[[สำมะโนประชากร]]อีกครั้ง ณ แผ่นดินโมอับนั่นเอง ซึ่งการสำมะโนประชากรในครั้งนี้ มีจำนวนประชากรชายที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้นไป เป็นจำนวน 601,730 คน แบ่งออกตามเผ่าต่าง ๆ ได้ดังนี้
ก่อนถึงเวลาที่[[อิสราเอล]]จะได้แบ่งดินแดน[[คานาอัน]] เพื่อจะเข้ายึดครองตามพันธสัญญาที่[[พระยาห์เวห์]]ทรงประทานให้นั้น พระเจ้าทรงให้[[โมเสส]]ทำ[[สำมะโนประชากร]]อีกครั้ง ณ แผ่นดินโมอับนั่นเอง ซึ่งการสำมะโนประชากรในครั้งนี้ มีจำนวนประชากรชายที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้นไป เป็นจำนวน 601,730 คน แบ่งออกตามเผ่าต่าง ๆ ได้ดังนี้
* [[เผ่ารูเบน]] จำวน 43,730 คน ''(เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 46,500 คน)''
* [[เผ่ารูเบน]] จำวน 43,730 คน ''(เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 46,500 คน)''
* [[เผ่าสิเมโอน]] จำนวน 22,200 คน ''(เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 59,300 คน)''
* [[เผ่าสิเมโอน]] จำนวน 22,200 คน ''(เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 59,300 คน)''
บรรทัด 154: บรรทัด 154:
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* พันธสัญญาเดิม
* พันธสัญญาเดิม
** [[พระธรรมอพยพ]]
** [[หนังสืออพยพ]]
* บุคคล
* บุคคล
** [[โมเสส]]
** [[โมเสส]]
บรรทัด 165: บรรทัด 165:
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://thaipope.org/webbible/index.htm พระคัมภีร์ออนไลน์]
* [http://www.thaicatholicbible.com/main/ พระคัมภีร์ออนไลน์]
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}


บรรทัด 173: บรรทัด 173:
{{เรียงลำดับ|กันดารวิถี}}
{{เรียงลำดับ|กันดารวิถี}}
[[หมวดหมู่:โตราห์]]
[[หมวดหมู่:โตราห์]]

[[หมวดหมู่:พันธสัญญาเดิม]]
{{โครงศาสนาคริสต์}}


[[af:Numeri]]
[[af:Numeri]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:16, 30 สิงหาคม 2555

หนังสือกันดารวิถี[1] (อังกฤษ: Book of Numbers) เป็นหนังสือเล่มที่ 4 ในเบญจบรรณ เนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของวงศ์วานอิสราเอลที่ต่อเนื่องมาจากหนังสืออพยพ หนังสือกันดารวิถีแปลมาจากคัมภีร์ฮีบรู (ฮีบรู: ba-midbar (במדבר) ซึ่งแปลว่า "ในถิ่นทุรกันดาร..." ซึ่งเป็นคำแรกของคัมภีร์ฉบับนี้ แต่ในภาษาอังกฤษ ใช้ชือว่า The Book of Numbers เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ได้กล่าวถึงการทำสำมะโนประชากรอิสราเอลถึงสองครั้ง ที่ภูเขาซีนาย และที่โมอับ ในขณะที่ภาษาไทยใช้ชื่อว่า "หนังสือกันดารวิถี" เนื่องจากหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงพงศาวดารของอิสราเอลช่วงที่ต้องใช้ชีวิตในถิ่นทุรกันดาร (ทะเลทราย) เป็นเวลา 40 ปี ก่อนจะได้เข้าสู่แผ่นดินคานาอัน

เนื้อหาในหนังสือกันดารวิถีนี้ จะแบ่งส่วนสำคัญออกได้เป็น ส่วน

  1. การนับอิสราเอลที่ภูเขาซีนาย (บทที่ 1-2)
  2. การกำหนดงานให้แก่คนเลวี และพระบัญญัติเรื่องการถวายบูชา (บทที่ 3-9 บทที่ 17-19 บทที่ 28-30)
  3. ออกเดินทางจากภูเขาซีนาย (บทที่ 10-12)
  4. การสอดแนมแผ่นดินคานาอัน (บทที่ 13-16)
  5. การเดินทางในถิ่นทุรกันดาร (บทที่ 20-25 บทที่ 27 บทที่ 31)
  6. การแบ่งดินแดนอิสราเอล และการแต่งตั้งโยชูวา (บทที่ 32-36)

การนับอิสราเอลที่ภูเขาซีนาย

จากหนังสืออพยพ เมื่อโมเสสได้รับพระบัญญัติของพระเจ้า ณ ภูเขาซีนายนั้น พระเจ้าทรงให้โมเสสตั้งประมุขแห่งเผ่าทั้ง 12 ของอิสราเอลขึ้น และทำสำมะโนครัวประชากรอิสราเอลที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป โดยนับได้จำนวนทั้งสิ้น 603,550 คน แบ่งเป็น

ในการสำมะโนประชากรครั้งนั้น ไม่ได้นับรวมเผ่าเลวีเข้าไปด้วย เนื่องจากพระเจ้าทรงกำหนดงานพิเศษให้แก่ชนเผ่าเลวีโดยเฉพาะ โดยมีหน้าที่ตั้งไว้สำหรับพลับพลาของพระเจ้า มีหน้าที่ขนพลับพลา ตั้งเต็นท์อยู่รอบพลับพลา รื้อพลับพลา และตั้งพลับพลา

การกำหนดงานแก่คนเลวี

ในการกำหนดงานแก่คนเลวีนั้น ได้แบ่งออกเป็นหน้าที่ตามวงศ์ (ชื่อบุตรชายของเลวี) ได้แก่วงศ์วานเกอร์โชน วงศ์วานโคอาท และวงศ์วานเมรารี โดยมีการกำหนดหน้าที่แตกต่างกัน โดยทรงกำหนดอายุของผู้เข้าปฏิบัติงานของคนเผ่าเลวี คือ ชายหนุ่มที่มีอายุตั้งแต่ 30-50 ปี[2] โดยวงศ์วานเผ่าเลวีมีดังนี้

  • วงศ์วานเกอร์โชน มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 7,500 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ข้างหลังพลับพลาด้านทิศตะวันตก โดยมีหน้าที่รับผิดชอบงานในพลับพลา ได้แก่ งานพลับพลา งานเต็นท์ พร้อมเครื่องเต็นต์ แท่นบูชา และสิ่งของทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเหล่านี้ [3]
  • วงศ์วานโคอาท มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 8,600 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ทางใต้ของพลับพลา มีหน้าที่ดูแลหีบพระโอวาท โต๊ะขนมปัง คันประทีป แท่นบูชาทั้งสอง และเครื่องใช้สถานนมัสการซึ่งปุโรหิตใช้งาน และม่าน [4]
  • วงศ์วานเมรารี มีจำนวนผู้ชายอายุ 1 เดือนขึ้นไปจำนวน 6,200 คน ต้องตั้งค่ายอยู่ด้านเหนือของพลับพลา มีหน้าที่ดูแลงานไม้กรอบพลับพลา ไม้กลอน ไม้เสา ฐานรองและเครื่องประกอบทั้งหมด เสารอบลานพลับพลา พร้อมกับฐานรองหลักหมุดและเชือกโยง [5]
  • บุคคลผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นปุโรหิต ได้แก่ โมเสส อาโรน และบุตรทั้งสองของอาโรน ตั้งค่ายอยู่ด้านหน้าของเต็นต์นัดพบ ด้านทิศตะวันออก มีหน้าที่ดูแลพิธีการภายในสถานนมัสการ[6] และเมื่อเคลื่อนย้ายค่าย ปุโรหิตมีหน้าที่นำผ้าม่านมาห่อหุ้มบรรดาหีบพระโอวาท แท่นบูชา โต๊ะขนมปัง คันประทีป และสิ่งของทั้งสิ้นในพลับพลาตามที่พระเจ้าบัญชาไว้ แล้วจึงให้วงศ์วานโคอาทเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ต่อ แต่ห้ามมิให้คนโคอาทเข้ามาห่อหุ้มสิ่งของต่าง ๆ [7]

นอกจากนี้ พระเจ้ายังทรงมีพระบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง และเป็นงานที่ปุโรหิตต้องชำระให้คนอิสราเอลอีกหลายประการ เช่น กฎหมายเรื่องการคืนของ[8] กฎหมายเรื่องความหึงหวง[9] กฎหมายของพวกนาศีร์[10] พระบัญญัติว่าด้วยเครื่องบูชา[11] พระบัญญัติว่าด้วยสิ่งของที่จัดสรรให้แก่ปุโรหิตและคนเผ่าเลวี[12] พระบัญญัติว่าด้วยการชำระผู้ที่มีมลทิน[13] และพระบัญญัติว่าด้วยการถวายบูชาในโอกาสต่าง ๆ[14]

การเคลื่อนพลออกจากภูเขาซีนาย

ในการเคลื่อนพลออกจากภูเขาซีนาย อิสราเอลได้ออกเดินทางเป็นลำดับตามที่พระเจ้าทรงตรัสสั่งโมเสสได้ดังนี้ ต้นขบวนนำโดยเผ่ายูดาห์ เผ่าอิสสาคาร์ เผ่าเศบูลุน และตามด้วยวงศ์วานเกอร์โชน และวงศ์วานเมรารี ตามลำดับ ต่อด้วยเผ่ารูเบน เผ่าสิเมโอน เผ่ากาด และตามด้วยวงศ์วานโคอาทตามลำดับ และปิดขบวนด้วย เผ่าเอฟราอิม เผ่ามนัสเสห์ เผ่าเบนยามิน เผ่าดาน เผ่าอาเชอร์ และเผ่านัฟทาลีเป็นลำดับสุดท้าย

เมื่อเคลื่อนพลไปนั้น มีอุปสรรคระหว่างการเดินทาง เนื่องด้วยคนจำนวนมาก พระเจ้าจึงทรงให้โมเสสตั้งพวกผู้ใหญ่ 70 คน ช่วยโมเสสในบรรเทางานของโมเสสลง[15] และครั้นเมื่ออิสราเอลเบื่อมานา พระเจ้าก็ทรงประทานนกคุ่มให้พวกเขา แต่เมื่อใดที่อิสราเอลโอดครวญ หรือกระทำการอันไม่เหมาะสม ก็จะได้รับการลงโทษจากพระเจ้าตามขนาดของเขา

การสอดแนมแผ่นดินคานาอัน

ครั้นเมื่อเดินทางใกล้ถึงแผ่นดินคานาอัน แผ่นดินพระสัญญาของพระเจ้า โมเสสได้ส่งผู้สอดแนมซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละเผ่า เพื่อตรวจดูแผ่นดิน และผู้คนในแผ่นดินนั้นว่าเป็นอย่างไร บรรดาผู้สอดแนมใช้เวลาเดินทาง 40 วัน จึงได้กลับมายังค่ายและเล่าเรื่องแผ่นดิน และคนในแผ่นดินนั้นให้อิสราเอลฟัง ต่อไปนี้คือ ชื่อของผู้สอดแนมทั้ง 12 คน

รายชื่อผู้สอดแนมทั้ง 12 คน
เผ่ารูเบน ชัมมุวา
เผ่าสิเมโอน ชาฟัท
เผ่ายูดาห์ คาเลบ
เผ่าอิสสาคาร์ อิกาล
เผ่าเอฟราอิม โฮเชยา
เผ่าเบนยามิน ปัลที
เผ่าเศบูลุน กัดเดียล
เผ่ามนัสเสห์ กัดดี
เผ่าดาน อัมมีเอล
เผ่าอาเชอร์ เสธูร์
เผ่านัฟทาลี นาบี
เผ่ากาด เกอูเอล


เมื่อทั้ง 12 นั้นกลับมาจากการสอดแนม ได้กล่าวร้ายต่อแผ่นดินนั้น โดยแจ้งว่า ถึงแม้แผ่นดินนั้นจะอุดมสมบูรณ์ แต่ผู้คนโหดร้าย กำแพงเมืองก็เข้มแข็ง ยกเว้น โยชูวา และคาเลบ ที่กล่าวให้อิสราเอลเข้ายึดครองแผ่นดินนั้น แต่คนอิสราเอลนั้นเชื่อผู้สอดแนมอีก 10 คน และไม่ยอมเดินทางเข้าแผ่นดินคานาอัน เป็นเหตุให้พระเจ้าทรงพิโรธเป็นอย่างมาก จึงทรงตรัสว่า จะให้คนอิสราเอลที่อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปนั้นเสียชีวิตในทะเลทราย และอิสราเอลต้องใช้ชีวิตอยู่ในทะเลทรายเป็นเวลา 40 ปี เท่าจำนวนวันที่ผู้สอดแนมได้ใช้เวลาในแผ่นดินคานาอัน[16]

การเดินทางในถิ่นทุรกันดาร

การเดินทางของอิสราเอลในถิ่นทุรกันดาร หรือ ทะเลทรายนี้ กินเวลา 40 ปี ซึ่งตลอดระยะเวลาดังกล่าวมีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้น แต่ในที่นี้จะนำเฉพาะเหตุการณ์ที่น่าสนใจมาสรุป ดังนี้

กบฎโคราห์

โคราห์ ซึ่งเป็นเผ่าเลวี ได้ตั้งตนเป็นกบฎต่อโมเสส และได้ชักจูงให้เผ่าเลวีและอิสราเอลบางส่วนติดตามเขา เนื่องจากไม่พอใจที่โมเสส และอาโรนได้รั้งตำแหน่งปุโรหิตไว้ โมเสสจึงให้พระเจ้าทรงเป็นผ่านเลือกว่าจะให้ใครเป็นผู้นำ โดยให้นำเครื่องหอมไปถวายต่อพระพักตร์พระเจ้าในสถานนมัสการ เมื่อโคราห์และพวกได้เข้าไปถวายเครื่องหอมบูชาแล้วเดินกลับออกมานอกพลับพลานั้น แผ่นดินก็ดูดคนเหล่านั้น รวมทั้งครอบครัว และข้าวของทั้งหมดของพวกเขาด้วย แต่ในครั้งนั้นอิสราเอลได้กล่าวว่า โมเสสได้พรากชีวิตของคนเหล่านั้น พระเจ้าจึงทรงได้ลงโทษคนอิสราเอล จนกระทั่งโมเสสได้ทูลขอต่อพระเจ้า และทำการถวายเครื่องบูชาลบมลทินให้ การลงทัณฑ์จึงได้ยุติลง แต่ในครั้งนั้นอิสราเอลได้เสียชีวิตไปด้วยเหตุการณ์นี้กบฏโคราห์นี้มากถึง 14,700 ตน[17]

ไม้เท้าของอาโรน

จากเหตุการณ์กบฎโคราห์ พระเจ้าจึงทรงบัญชาให้โมเสสนำไม้เท้าของบรรดาหัวหน้าเผ่าทั้งหมดของอิสราเอล และไม้เท้าของอาโรนสลักชื่อ และนำเข้าไปในพลับพลา และทรงตรัสว่า จะทรงสำแดงให้เห็นว่าใครคือคนที่พระองค์ทรงเลือก เมื่อนำไม้เท้าของบรรดาหัวหน้าเผ่าเข้าไปได้ 1 วัน โมเสสจึงได้นำไม้เท้าเหล่านั้นออกมา ปรากฏว่า มีเพียงไม้เท้าของอาโรนเท่านั้น ที่ออกดอกและผลอัลมันด์ อิสราเอลจึงได้ทราบถึงบุคคลที่พระเจ้าทรงเลือกไว้[18]

ได้น้ำจากหิน

เมื่ออิสราเอลเดินทางเข้าถิ่นทุรกันดารสีน เกิดการขาดน้ำและชุมชนอิสราเอลได้บ่นต่อว่าทั้งโมเสส และต่อว่าพระเจ้าต่าง ๆ นานา โมเสสได้เข้าไปทูลขอน้ำจากพระเจ้าและพระองค์ตรัสสั่งให้โมเสส บอกให้น้ำไหลออกมาจากหิน แต่เมื่อโมเสสและอาโรนได้อยู่ต่อหน้าประชาชน โทสะได้ครอบงำท่านไว้ จึงได้ใช้ไม้เท้าตีหิน น้ำจึงออกมาจากหินนั้น ด้วยเหตุการณ์ที่โมเสส และอาโรน มิได้กระทำตามที่พระเจ้าบอก ทั้งสองจึงไม่ได้รับสิทธิเข้าไปในแผ่นดินคานาอัน[19]

มรณกรรมของมีเรียนและอาโรน

ภายหลังจากเหตุการณ์การสอดแนมที่คานาอัน เมื่ออิสราเอลเดินทางเข้าถิ่นทุรกันดารสีน มีเรียม พี่สาวของโมเสสก็ได้เสียชีวิตลง และภายหลังเหตุการณ์ได้น้ำจากหิน เมื่ออิสราเอลเดินทางถึงภูเขาโฮร์ อาโรน ก็ได้เสียชีวิตลงที่นั่น โดยก่อนเสียชีวิต พระเจ้าทรงตรัสสั่งให้ โมเสส นำ อาโรน และเอเลอาซาร์ บุตรชายของอาโรนขึ้นไปบนภูเขา และได้ให้อาโรนทำการมอบเครื่องแต่งกายปุโรหิตให้แก่เอเลอาซาร์ แล้วท่านจึงสิ้นใจบนภูเขานั้น[20]


ภาพกษัตริย์บาลาอัมตามหนังสือกันดารวิถี บทที่ 23 วาดโดย เจเกอร์ ไบเลียม เองเจล

บาลาค และบาลาอัม

เมื่อคนอิสราเอลตั้งค่ายอยู่ใกล้คนโมอับนั้น บาลาค กษัตริย์ของคนโมอับเกรงว่าอิสราเอลจะเข้ามายึดครอง จึงได้เชิญ บาลาอัม มาทำพิธีสาปแช่งแก่อิสราเอล ฝ่ายบาลาอัมนั้น ได้เดินทางมายังบริเวณค่าย แต่ยังไม่ได้เข้าไปในเมืองโมอับนั้น พระเจ้าทรงตรัสแก่ บาลาอัม ว่า"...เจ้าจงอย่าแช่งชนชาตินั้น เพราะเขาทั้งหลายเป็นคนที่ได้รับพร..." แล้วบาลาอัมจึงแจ้งแก่บาลาคว่า ไม่สามารถกระทำการนั้นได้ เนื่องจากพระเจ้าทรงอยู่ข้างอิสราเอล และบาลาคก็ได้มาเชิญ บาลาอัม อีก เป็นครั้งที่สอง แต่บาลาอัมได้ปฏิเสธ และกล่าวว่า "...แม้บาลาคจะให้เงินและทองเต็มบ้านเต็มเรือนของท่านแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะกระทำอะไรนอกเหนือจากพระบัญชาพระเยโฮวาห์ พระเจ้าของข้าพเจ้าไม่ได้..." แต่ต่อมาพระเจ้าทรงใช้ให้บาลาอัมเดินทางไปหาบาลาคได้เฉพาะเมื่อมีคนมาเรียกให้ไป แต่บาลาอัมไม่ได้รอใหผู้มาเรียก ก็เดินทางไป พระเจ้าจึงทรงให้ทูตของพระองค์มาขวางทางเดินของลานั้น และพระเจ้าทรงเปิดปากลาให้พูดเพื่อเตือนสติบาลาอัม

ครั้นแล้วพระเจ้าทรงให้บาลาอัมเดินทางไปหาบาลาค แต่ให้บาลาอัมกระทำเฉพาะในสิ่งที่พระเจ้าทรงบัญชาเท่านั้น เมื่อไปถึง บาลาคได้นำบาลาอัมไปยังเขตแดนเพื่อให้บาลาอัมสาปแช่งอิสราเอล แต่บาลาอัมกลับอวยพรให้แก่อิสราเอลว่า "...ใครจะนับเผ่าพันธุ์ของยาโคบที่มากอย่างผงคลีดินนั้นได้ หรือนับหนึ่งในสี่ของอิสราเอลได้..." บาลาคได้ย้ายจุดเพื่อให้บาลาอัมสาปแช่งอีก 2 ที่ แต่บาลาอัม ก็อวยพรแก่อิสราเอลทั้ง 3 ครั้ง ท่านกล่าวว่า "...ข้าพเจ้ากระทำอะไรนอกเหนือพระบัญชาพระเจ้าไม่ได้...พระเจ้าตรัสประการใด ข้าพเจ้าก็พูดอย่างนั้น..." แล้วบาลาอัมก็ลากลับไปยังเมืองของท่าน [21]

การแบ่งดินแดนคานาอัน

เมื่อครบกำหนดเวลา 40 ปีที่อิสราเอลใช้ชีวิตอยู่ในทะเลทราย เพื่อชดใช้ความบาปของชนรุ่นก่อน พระเจ้าทรงระลึกถึงอิสราเอล และได้ให้โมเสสได้ดำเนินการเพื่อการเดินทางเข้าแผ่นดินคานาอันต่อไป โดยได้จัดสรรแผ่นดินคานาอันให้แก่เผ่าต่าง ๆ ของอิสราเอล และการมอบอำนาจการบริหารต่าง ๆ ให้แก่คนรุ่นต่อไป

แผ่นดินคานาอันและการแบ่งดินแดนตามเผ่าทั้งสิบสอง

การนับประชากรที่โมอับ

ก่อนถึงเวลาที่อิสราเอลจะได้แบ่งดินแดนคานาอัน เพื่อจะเข้ายึดครองตามพันธสัญญาที่พระยาห์เวห์ทรงประทานให้นั้น พระเจ้าทรงให้โมเสสทำสำมะโนประชากรอีกครั้ง ณ แผ่นดินโมอับนั่นเอง ซึ่งการสำมะโนประชากรในครั้งนี้ มีจำนวนประชากรชายที่มีอายุมากกว่า 20 ปีขึ้นไป เป็นจำนวน 601,730 คน แบ่งออกตามเผ่าต่าง ๆ ได้ดังนี้

  • เผ่ารูเบน จำวน 43,730 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 46,500 คน)
  • เผ่าสิเมโอน จำนวน 22,200 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 59,300 คน)
  • เผ่ากาด จำนวน 40,500 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 45,650 คน)
  • เผ่ายูดาห์ จำนวน 76,500 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 74,600 คน)
  • เผ่าอิสสาคาร์ จำนวน 64,300 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 54,400 คน)
  • เผ่าเศบูลุน จำนวน 60,500 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 57,400 คน)
  • พงศ์พันธุ์โยเซฟ
  • เผ่าเบนยามิน จำนวน 45,600 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 35,400 คน)
  • เผ่าดาน จำนวน 64,400 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 62,700 คน)
  • เผ่าอาเชอร์ จำนวน 53,400 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 41,500 คน)
  • เผ่านัฟทาลี จำนวน 45,400 คน (เทียบกับการสำมะโนครัวครั้งก่อน 53,400 คน)

ส่วนเผ่าเลวีนั้น พระเจ้าทรงยกไว้ ไม่ได้มีส่วนในมรดกแห่งแผ่นดินคานาอันแก่เขา เนื่องจากเผ่าเลวีนั้นมีหน้าที่ต้องปฏิบัติงานในสถานนมัสการของพระเจ้า และรับส่วนแบ่งจากของถวายซึ่งพระเจ้าได้ทรงกำหนดไว้ ในครั้งนั้นจำนวนคนเลวีที่มีอายุตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไป มีจำนวน 23,000 คน

การจัดสรรแผ่นดินคานาอัน

พระเจ้าทรงบัญชาให้โมเสส ได้นำบรรดาหัวหน้าของแต่ละเผ่ามาเพื่อกำหนดเขตแดนแผ่นดินคานาอันที่จะให้อิสราเอลเข้ายึดครอง และให้จับฉลากแบ่งดินแดนกันตามเผ่า วงศ์วาน ตระกูลของแต่ละคน ทั้งนี้พระเจ้าทรงกำหนดเขตแดนของคานาอันดังนี้

  • ทิศเหนือ จากภูเขาโฮร์ ถึงเมืองฮามัท สิ้นสุดที่ฮาซาเรนัน
  • ทิศใต้ นับจากถิ่นทุรกันดารสีน ตามแนวด้านเอโดม ไปจนถึงทะเลเกลือ (ทะเลตาย)
  • ทิศตะวันออก จากอาซาเรนันถึงเชฟาม ยาวลงมาถึงแม่น้ำจอร์แดน สุดทางลงทะเลเกลือ (ทะเลตาย)
  • ทิศตะวันตก เป็นพื้นที่ติดทะเลใหญ่ (ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน)

ด้วยเขตแดนที่ปรากฏในพระคัมภีร์นี้ เป็นหลักฐานอ้างอิงให้อิสราเอลได้ขอพื้นที่ในส่วนนี้คืน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อชาวยิว 7 คนได้สร้างประวัติศาสตร์ทำลายค่ายนาซีได้นั้น ชาวยิวได้นำหลักฐานนี้อ้างอิงในการขอพื้นที่เพื่อตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายพันธมิตร

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. หนังสือกันดารวิถี. คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกพระคัมภีร์
  2. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 4 ข้อที่ 2, 30 และ 35 และหนังสือกันดารวิถีบทที่ 8 ข้อที่ 23-26
  3. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 21-26
  4. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 27-32
  5. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 33-37
  6. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 3 ข้อที่ 38-39
  7. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 4 ข้อที่ 1-15
  8. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 5 ข้อที่ 5-10
  9. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 5 ข้อที่ 11-31
  10. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 6
  11. หนังสือกันดารวิถีบทที่ 7
  12. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 18
  13. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 19
  14. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 28-29
  15. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 11
  16. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 14 ข้อที่ 20-35
  17. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 16
  18. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 17
  19. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 20
  20. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 20
  21. หนังสือกันดารวิถี บทที่ 21-24
บุตรของยาโคบ ตามชื่อภรรยา (ญ = บุตรสาว)
(ตัวเลขในวงเล็บคือลำดับของการเกิด)
เลอาห์ รูเบน (Reuben) (1) สิเมโอน (Simeon) (2) เลวี (Levi) (3) ดีนาห์ (Dinah) (ญ)
ยูดาห์ (Judah) (4) อิสสาคาร์ (Issachar) (9) เศบูลุน (Zebulun) (10)
ราเชล โยเซฟ (Joseph) (11) เบนยามิน (Benjamin) (12)
เอฟราอิม บุตรโยเซฟ (11.1) มนัสเสห์ บุตรโยเซฟ (11.2)
บิลลาห์
(สาวใช้นางราเชล)
ดาน (Dan) (5) นัฟทาลี (Naphtali) (6)
ศิลปาห์
(สาวใช้นางเลอาห์)
กาด (Gad) (7) อาเชอร์ (Asher) (8)