ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2555

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ไทยพรีเมียร์ลีก 2555)
ไทยพรีเมียร์ลีก
ฤดูกาล2555
ทีมชนะเลิศเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
ตกชั้นทีทีเอ็ม เชียงใหม่
บีบีซียู
การท่าเรือไทย
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (รอบแบ่งกลุ่ม)
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (รอบเพลย์ออฟ)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา (บีอีซีเทโร)
ไทย ธีรศิลป์ แดงดา (เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด)
24 ประตู
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
บีอีซีเทโร 7–1 ทีทีเอ็ม (10 ตุลาคม 2555)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
บีบีซียู 1–8 เมืองทอง (17 ตุลาคม 2555)
จำนวนประตูสูงสุดบีบีซียู 1–8 เมืองทอง (17 ตุลาคม 2555) (9 ประตู)
จำนวนผู้ชมสูงสุดวัวชน 1-4 เมืองทอง (20 พฤษภาคม 2555) 30,102 คน
จำนวนผู้ชมต่ำสุดบีบีซียู 0-2 สมุทรสงคราม (5 พฤษภาคม 2555) 239 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย4,823 คน/นัด
จากทั้งหมด 1,475,769 คน
2554
2556

ไทยพรีเมียร์ลีก 2555 (เป็นที่รู้จักกันในชื่อ สปอนเซอร์ไทยพรีเมียร์ลีก ตามชื่อของผู้สนับสนุนหลัก) โดยเป็นจัดขึ้นเป็นฤดูกาลที่ 16 ของการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีกนับตั้งแต่ก่อตั้งมาในปี พ.ศ. 2539 มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 18ทีม โดยจะทำการแข่งขันกันในระบบลีกเหย้า/เยือนพบกันหมด

ทีม[แก้]

ขอนแก่น, ราชนาวี และ ศรีราชา ตกชั้นลงไปเล่นไทยลีกดิวิชั่น 1 2555 หลังจากจบการแข่งขันฤดูกาล 2554ในสามอันดับสุดท้ายของตาราง

ทีมชนะเลิศ บุรีรัมย์ เอฟซี, รองชนะเลิศ ชัยนาท และอันดับที่สามบีบีซียู จากการแข่งขันไทยลีกดิวิชัน 1 2554 ได้ขึ้นชั้นไปเล่นไทยพรีเมียร์ลีก โดยบุรีรัมย์ เอฟซีได้ทำการร่วมสโมสรกับบุรีรัมย์ พีอีเอ เป็นสโมสรบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เมื่อสิ้นสุดฤดูกาล 2554 และได้โอนสิทธิการขึ้นชั้นให้กับวัวชน ยูไนเต็ดมาทำการเล่นในลีกสูงสุดเป็นครั้งแรก[1] [2]

สนามเหย้าและสถานที่ตั้ง[แก้]

ทีม ที่ตั้ง สนาม ความจุ
การท่าเรือไทย กรุงเทพมหานคร แพตสเตเดียม 10,308
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,600
ชัยนาท ชัยนาท สนามกีฬาเขาพลอง 5,574
เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย ยูไนเต็ด สเตเดียม 14,000
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ เชียงใหม่ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000
ทีโอที เอสซี กรุงเทพมหานคร สนามฟุตบอลทีโอที 5,183
บางกอกกล๊าส ปทุมธานี ลีโอ สเตเดียม 12,000
บีบีซียู กรุงเทพมหานคร สนามราชมังคลากีฬาสถาน 46,722
บีอีซี เทโรศาสน กรุงเทพมหานคร สนามฟุตบอลเทพหัสดิน 6,378
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ นิว ไอ-โมบาย สเตเดียม 24,000
พัทยา ยูไนเต็ด ชลบุรี สนามเทศบาลเมืองหนองปรือ 5,000
วัวชน ยูไนเต็ด สงขลา สนามติณสูลานนท์ 35,000
สมุทรสงคราม สมุทรสงคราม สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม 5,000
อาร์มี่ ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร สนามกีฬากองทัพบก 20,000
อินทรีเพื่อนตำรวจ ปทุมธานี สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต 25,000
อีสาน ยูไนเต็ด อุบลราชธานี สนามทุ่งบูรพา 3,500
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี เอสซีจี สเตเดียม 17,500
โอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี สระบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสระบุรี 5,000

เปลี่ยนชื่อทีม[แก้]

  • การท่าเรือ เปลี่ยนชื่อเป็น พอร์ต เอฟซี สำหรับการแข่งขันฤดูกาลใหม่ จากนั้นก็ได้ทำการเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น การท่าเรือ ในสัปดาห์ต่อมา
  • บุรีรัมย์ พีอีเอ เปลี่ยนชื่อเป็น บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สำหรับการแข่งขันฤดูกาลใหม่ (โดยดึงนักเตะจากบุรีรัมย์เอฟซี มาส่วนหนึ่ง)
  • ศรีสะเกษ เปลี่ยนชื่อเป็น อีสาน ยูไนเต็ด สำหรับการแข่งขันฤดูกาลใหม่
  • ทีทีเอ็ม พิจิตร เปลี่ยนชื่อเป็น ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ สำหรับการแข่งขันฤดูกาลใหม่
  • บุรีรัมย์ เอฟซี เปลี่ยนชื่อเป็น วัวชน ยูไนเต็ด สำหรับการแข่งขันฤดูกาลใหม่

เปลี่ยนสนาม[แก้]

  • บีบีซียู ย้ายเข้าไปใช้ราชมังคลากีฬาสถาน หลังจากตกลงใช้สนามฟุตบอลกองทัพบก ร่วมกับอาร์มี่ ยูไนเต็ด ไม่ได้ โดยนัดที่พบกับเชียงราย ยูไนเต็ด บีบีซียูได้เปลี่ยนไปใช้สนาม เอสซีจี สเตเดียม ของ เอสซีจี เมืองทอง เนื่องจากราชมังคลากีฬาสถานติดการใช้งานของสนาม
  • ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ ย้ายจากสนามกีฬากลางจังหวัดพิจิตรไปยังสนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี
  • อีสาน ยูไนเต็ดย้ายเข้าไปใช้สนามกีฬาทุ่งบูรพาหลังจากย้ายที่ตั้งมาอยู่จังหวัดอุบลราชธานี
  • อินทรีเพื่อนตำรวจ ย้ายสนามไปสนามกีฬาสพล.ชลบุรี,สนามกีฬากองทัพบก,สนามเทพหัสดิน เนื่องด้วยสนามมธ.รังสิต ปรับปรุงหลังจากน้ำท่วม และกลับมาใช้สนามมธ.รังสิต ในเลกสอง
  • เมืองทอง ยูไนเต็ด ขอเปลี่ยนชื่อสนามจาก ยามาฮ่าสเตเดียม เป็น เอสซีจีสเตเดียม
  • เชียงราย ยูไนเต็ด ย้ายสนาม จาก มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ไป ยูไนเต็ด สเตเดียม หลังสนามใหม่สร้างเสร็จ พร้อมเปิดใช้งาน
  • บีอีซี เทโรศาสน ย้ายสนามแข่งขันชั่วคราวเป็นสนามศุภชลาศัย ในนัดที่พบกับโอสถสภา สระบุรี เนื่องจาก สนามเทพหัสดิน ไม่อยู่ในสภาพใช้งานได้

ข้อมูลทีมและผู้สนับสนุน[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

ทีม ผู้จัดการทีม/โค้ช กัปตัน ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุนบนชุด
การท่าเรือไทย ไทย วิจารณ์ณรงค์, วรกรวรกร วิจารณ์ณรงค์ ไทย นนท์ศิริ, อิทธิพลอิทธิพล นนท์ศิริ เอฟบีที เอฟบี แบตเตอรี
ชลบุรี ไทย เลาหกุล, วิทยาวิทยา เลาหกุล ไทย อ่อนโม้, พิภพพิภพ อ่อนโม้ ไนกี้ ช้าง
ชัยนาท ไทย จตุรภัทรพงษ์, สุรชัยสุรชัย จตุรภัทรพงษ์ ไทย วชิรบาล, ณรงค์ชัยณรงค์ชัย วชิรบาล แคปป้า
เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล คูกูรา, สเตฟาโนสเตฟาโน คูกูรา ไทย โพธิ์อ้น, ธีรศักดิ์ธีรศักดิ์ โพธิ์อ้น เดฟโฟ ลีโอ
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ บราซิล ดาซิลวา, โชเซ คาร์ลอสโชเซ คาร์ลอส ดาซิลวา ไทย มหาวงค์, วัชระวัชระ มหาวงค์ มาวิน โรงงานยาสูบ
ทีโอที เอสซี ไทย ทรัพย์เพิ่ม, สมชายสมชาย ทรัพย์เพิ่ม ญี่ปุ่น คะวะมูระ, ทาคาฮิโรทาคาฮิโร คะวะมูระ ทีโอที
บางกอกกล๊าส อังกฤษ สตับบินส์, ฟิลฟิล สตับบินส์ ไทย แก้วเขียว, อำนาจอำนาจ แก้วเขียว อัมโบร ลีโอ
บีบีซียู ไทย รุ่งเรือง, อดุลย์อดุลย์ รุ่งเรือง ไทย หมื่นสมาน, อดุลย์อดุลย์ หมื่นสมาน ทรีบรอดแบนด์
บีอีซี เทโรศาสน ไทย เสชนะ, สัมฤทธิ์สัมฤทธิ์ เสชนะ ไทย วิวัฒน์ชัยโชค, รังสรรค์รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค เอฟบีที ช่อง3
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทย บุษปาคม, อรรถพลอรรถพล บุษปาคม ไทย พุฒตาล, อภิเชษฐ์อภิเชษฐ์ พุฒตาล ช้าง
พัทยา ยูไนเต็ด ไทย สง่าพล, เฉลิมวุฒิเฉลิมวุฒิ สง่าพล ไทย ศิริวงศ์, นิเวสนิเวส ศิริวงศ์ แกรนด์ สปอร์ต ทรู
วัวชน ยูไนเต็ด ไทย มีลาภ, จเด็จจเด็จ มีลาภ ไทย หมัดศิริ, ไชยรัตน์ไชยรัตน์ หมัดศิริ เอฟบีที ทีพีไอโพลีน
สมุทรสงคราม ไทย ชวยบุญชุม, สมชายสมชาย ชวยบุญชุม ไทย วัฒนะ, ชัยวุฒิชัยวุฒิ วัฒนะ คูลสปอร์ต เจนิฟู้ด
อาร์มี่ ยูไนเต็ด ไทย เกิดแย้ม, พนิพลพนิพล เกิดแย้ม ไทย สีหา, ธาตรีธาตรี สีหา แพน ช้าง
อินทรีเพื่อนตำรวจ ไทย ดำรงอ่องตระกูล, ธวัชชัยธวัชชัย ดำรงอ่องตระกูล ไทย สารีพิมพ์, สุรชาติสุรชาติ สารีพิมพ์ Kela ปูนอินทรี
อีสาน ยูไนเต็ด ไทย ขุนเณร, พยงค์พยงค์ ขุนเณร ไทย ทาทอง, วุฒิชัยวุฒิชัย ทาทอง เอฟบีที เมืองไทยประกันชีวิต
เอสซีจี เมืองทองฯ ยูไนเต็ด เซอร์เบีย วอคานอวิช, สลาวีชาสลาวีชา วอคานอวิช ไทย ทองเหลา, ดัสกรดัสกร ทองเหลา แกรนด์ สปอร์ต เอสซีจี และ ยามาฮ่า
โอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี ไทย บวรวัฒนดิลก, ไพโรจน์ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก ไทย พั่วนะคุณมี, เจษฎาเจษฎา พั่วนะคุณมี แกรนด์ สปอร์ต เอ็ม–150

การเปลี่ยนผู้จัดการทีม[แก้]

ทีม ผู้จัดการทีม/โค๊ช ที่ออกจากตำแหน่ง ลักษณะ ผู้จัดการทีม/โค๊ช ที่เข้ามารับตำแหน่ง
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด อังกฤษ ร็อบบี ฟาวเลอร์ ลาออก เซอร์เบีย สลาวีชา วอคานอวิช
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ ไทย สมชาย ชวยบุญชุม ถูกไล่ออก ไทย ณรงค์ สุวรรณชาติ
อีสาน ยูไนเต็ด บราซิล รอยเตอร์ โมไรรา ลาออก ไทย พยงค์ ขุนเณร
การท่าเรือไทย ไทย ธงชัย สุขโกกี ลาออก ไทย ปิยกุล แก้วน้ำค้าง
การท่าเรือไทย ไทย ปิยกุล แก้วน้ำค้าง ลาออก ไทย อดุลย์ ลือกิจนา
การท่าเรือไทย ไทย อดุลย์ ลือกิจนา สิ้นสุดการดูแลทีมชั่วคราว ไทย วรกร วิจารณ์ณรงค์
บีบีซียู ไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง ลาออก ไทย รุ่งเรือง, อดุลย์อดุลย์ รุ่งเรือง
สมุทรสงคราม ไทย วรวรรณ ชิตะวณิชย์ ลาออก ไทย สมชาย ชวยบุญชุม
อาร์มี่ยูไนเต็ด ไทย รุ่งเรือง, อดุลย์อดุลย์ รุ่งเรือง ลาออก ไทย เกิดแย้ม, พนิพลพนิพล เกิดแย้ม
บีอีซีเทโรศาสน อังกฤษ อ็อด, แอนดรูว์แอนดรูว์ อ็อด ลาออก สวีเดน เอริกซอน, สเวน-เยอรานสเวน-เยอราน เอริกซอน
บางกอกกล๊าส ไทย จตุรภัทรพงษ์, สุรชัยสุรชัย จตุรภัทรพงษ์ ลาออก อังกฤษ สตับบินส์, ฟิลฟิล สตับบินส์
ชัยนาท เอฟซี ไทย สีทะโร, อิสสระอิสสระ สีทะโร ลาออก ไทย จตุรภัทรพงษ์, สุรชัยสุรชัย จตุรภัทรพงษ์

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ
ทีม เล่น
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ต่าง
คะแนน
ได้รับคัดเลือก หรือ ตกชั้น
1 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (C) 34 25 9 0 78 31 +47 84 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013 รอบแบ่งกลุ่ม
2 ชลบุรี 34 21 7 6 65 33 +32 70
3 บีอีซี เทโรศาสน 34 16 9 9 53 43 +10 57
4 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 34 14 12 8 61 40 +21 54 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2013 รอบคัดเลือก
5 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 34 16 4 14 55 48 +7 52
6 อีสาน ยูไนเต็ด 34 11 14 9 41 42 −1 47
7 สมุทรสงคราม 34 12 10 12 37 39 −2 46
8 บางกอกกล๊าส 34 10 15 9 53 39 +14 45
9 เชียงราย ยูไนเต็ด 34 11 11 12 40 47 −7 44
10 อาร์มี่ ยูไนเต็ด 34 10 13 11 34 38 −4 43
11 เพื่อนตำรวจ 34 10 12 12 37 38 −1 42
12 ทีโอที 34 10 12 12 43 46 −3 42
13 สงขลา ยูไนเต็ด 34 9 14 11 46 54 −8 41
14 ชัยนาท 34 9 12 13 59 72 −13 39
15 พัทยา ยูไนเต็ด 34 9 10 15 35 47 −12 37
16 การท่าเรือ (R) 34 8 9 17 32 48 −16 33 ตกชั้นสู่ ไทยลีกดิวิชัน 1 2556
17 บีบีซียู (R) 34 4 13 17 32 63 −31 25
18 ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ (R) 34 2 12 20 25 57 −32 18

อัปเดตล่าสุด 28 October, 2012
แหล่งข้อมูล: Thai Premier League
กฎการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม
(C) = ชนะเลิศ; (R) = ตกชั้น; (P) = เลื่อนชั้น; (O) = ผู้ชนะจากรอบคัดเลือก; (A) = ผ่านเข้ารอบต่อไป
ใช้ได้เฉพาะเมื่อฤดูกาลยังไม่สิ้นสุด:
(Q) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในระยะของทัวร์นาเมนต์ที่ระบุ; (TQ) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขัน แต่ยังไม่อยู่ในระยะที่ระบุ; (DQ) = ถูกตัดสิทธิ์จากทัวร์นาเมนต์

ชนะเลิศไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก 2555
ไทย

เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด

ชนะเลิศครั้งที่ 3

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า \ เยือน1 AMU BKG BEC BRU BBC CHA CRU CHO ESU MTU OSO PTU POL SAS POR TOT TTM SKU
อาร์มี่ ยูไนเต็ด 0–0 1–3 3–3 1–1 1–1 1–0 1–0 1–0 1–2 1–3 2–0 1–1 1–0 1–0 2–1 2–2 1–3
บางกอกกล๊าส 0–0 1–1 1–2 5–2 5–3 4–1 0–0 0–0 1–2 1–0 1–1 2–0 4–1 4–0 0–0 2–2 2–0
บีอีซี เทโรศาสน 0–0 3–0 0–0 1–1 4–2 3–2 1–2 0–1 2–2 0–4 3–1 2–2 1–0 0–2 2–1 7–1 2–1
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1–1 3–2 0–1 3–0 7–2 3–1 3–4 2–2 1–1 4–2 1–1 2–2 0–0 1–0 2–1 1–0 0–0
บีบีซียู 1–1 0–0 2–2 1–4 0–1 1–2 0–0 1–0 1–8 0–0 0–2 1–1 2–2 1–3 3–2 1–1 1–1
ชัยนาท 1–0 2–2 2–1 0–3 1–3 1–2 0–3 1–1 4–4 2–2 4–2 1–3 1–1 2–0 2–2 0–1 1–1
เชียงราย ยูไนเต็ด 0–1 1–0 0–1 2–1 2–0 1–1 0–0 2–1 1–1 4–3 2–1 1–0 1–0 1–1 0–1 3–2 1–1
ชลบุรี 3–1 1–1 3–0 4–2 4–1 4–3 2–1 5–1 2–2 3–1 2–1 1–0 1–2 4–0 2–0 0–0 1–0
อีสาน ยูไนเต็ด 1–1 1–0 4–0 1–1 1–0 3–3 3–3 2–1 1–1 2–1 0–1 1–1 2–1 2–1 1–1 2–1 1–2
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 2–1 2–2 2–1 1–1 2–0 1–0 2–0 2–0 3–0 2–1 3–2 3–1 1–0 5–1 2–1 3–0 2–0
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 1–0 1–3 2–3 2–1 1–0 2–1 4–1 3–1 2–1 1–2 4–2 2–0 0–1 1–0 2–1 4–3 1–2
พัทยา ยูไนเต็ด 2–1 0–0 1–0 1–0 2–0 0–2 2–2 0–2 2–2 0–1 0–0 1–1 0–0 1–0 2–2 1–0
เพื่อนตำรวจ 0–1 3–1 0–2 0–0 1–1 4–2 1–1 1–2 0–1 1–2 1–0 1–0 1–1 1–0 1–1 0–0 2–0
สมุทรสงคราม 1–0 3–2 1–1 0–3 1–0 2–3 0–0 1–0 0–0 1–2 1–0 2–0 1–0 1–2 4–0 0–0 4–4
การท่าเรือ 1–1 0–0 0–2 2–1 3–2 2–2 2–0 1–2 0–1 1–2 0–0 2–4 0–1 1–2 0–0 1–0 0–0
ทีโอที 0–2 3–2 1–1 0–1 3–2 1–1 1–0 1–1 3–1 1–1 1–3 3–1 1–2 3–0 1–1 1–0 3–3
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ 2–2 0–0 0–1 0–2 0–1 2–3 0–0 0–1 0–0 0–3 1–2 1–0 0–2 0–1 2–5 0–1 2–2
สงขลา ยูไนเต็ด 2–0 1–5 1–2 2–1 2–2 2–4 2–2 1–4 1–1 1–4 3–0 0–0 3–2 3–2 0–0 0–0 2–0

อัปเดตล่าสุดวันที่ 28 ตุลาคม 2012
แหล่งข้อมูล: Thai Premier League
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติประจำฤดูกาล[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2555
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู[3]
1 บราซิล คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา บีอีซี เทโรศาสน 24
ไทย ธีรศิลป์ แดงดา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 24
3 ไทย ธนา ชะนะบุตร อินทรี เพื่อนตำรวจ 15
4 มาซิโดเนียเหนือ มารีโอ ยูโรฟสกี เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 14
ไทย ภูวดล สุวรรณชาติ ชัยนาท เอฟซี 14
ไทย พิภพ อ่อนโม้ ชลบุรี เอฟซี 14
7 แคเมอรูน ลูโดวิค ทาคาม พัทยา ยูไนเต็ด 12
แคเมอรูน แฟรงค์ อาเชียมปง บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 12
9 แคเมอรูน ซามูเอล เบงกา อาจายี บางกอกกล๊าส เอฟซี 11
โกตดิวัวร์ ดิยุฟ บีรัม เจนิฟูด สมุทรสงคราม เอฟซี 11
บราซิล ลุยซ์ เอดูอาร์โด เปอร์ซิโน โอสถสภา เอ็ม-150 สระบุรี 11
12 สวีเดน คาร์ล โอลอฟ ซานโด วีเดน-วัตสัน การท่าเรือไทย เอฟซี 10
ตรินิแดดและโตเบโก เคนดาล จาโดซิงก์ ชัยนาท เอฟซี 10
14 บราซิล เลอันโดร ดอส ซานโตส อินทรี เพื่อนตำรวจ 9
บราซิล เลโอนาร์โด เฟอร์ไรร่า ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ 9
ไทย ใหญ่ นิลวงษ์ อีสาน ยูไนเต็ด 9
บราซิล จูเนียร์ อปาเรซีโด กูว์มาโร บีบีซียู เอฟซี 9
ญี่ปุ่น ฮิโรโนริ ซารูตะ บางกอกกล๊าส เอฟซี 9
ไทย วุฒิชัย ทาทอง อีสาน ยูไนเต็ด 9
20 นามิเบีย ลาซารัส คาอิมบิ โอสถสภา เอ็ม-150 สระบุรี 8
ไทย ณรงค์ชัย วชิรบาล ชัยนาท เอฟซี 8
ไทย ธีรเทพ วิโนทัย บางกอกกล๊าส เอฟซี 8
ไทย เอกชัย สำเร บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 8
ไทย ณภัทร ธำรงศุภกร เจนิฟูด สมุทรสงคราม เอฟซี 8
บราซิล ติอาโก คุนญา ชลบุรี เอฟซี 8
ไทย สุรชาติ สารีพิมพ์ อินทรี เพื่อนตำรวจ 8
ไทย นันทวัฒน์ แทนโสภา เชียงราย ยูไนเต็ด 8
28 โกตดิวัวร์ ดักโน เซียกา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 7
ไทย กีรติ เขียวสมบัติ วัวชน ยูไนเต็ด 7
เกาหลีใต้ ลี ดอง วอน ชัยนาท เอฟซี 7

แฮตทริก[แก้]

ลำดับ นักเตะ สโมสร ทำได้นัดที่พบ ผล นาที วันที่
1 โตโก โธมัส ดอสเซวี ชลบุรี อีสาน ยูไนเต็ด (เหย้า) 5-1[ลิงก์เสีย] Goal 50', Goal 54', Goal 60' 7 เมษายน 2555
2 บราซิล หลุยซ์ เอดูอาร์โด โอสถสภา สระบุรี อาร์มี ยูไนเต็ด (เยือน) 3-1[ลิงก์เสีย] Goal 23', Goal 43', Goal 88' 8 เมษายน 2555
3 บราซิล คลีตัน ซิลวา บีอีซี เทโรศาสน บางกอกกล๊าส (เหย้า) 3-0[ลิงก์เสีย] Goal 12', Goal 54', Goal 90+3' 12 พฤษภาคม 2555
4 ไทย โชคลาภ นิลแสง เชียงราย ยูไนเต็ด โอสถสภา สระบุรี (เหย้า) 4-3[ลิงก์เสีย] Goal 2', Goal 3', Goal 23' 26 พฤษภาคม 2555
5 ไทย พิภพ อ่อนโม้ ชลบุรี บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (เยือน) 3-4[ลิงก์เสีย] Goal 37', Goal 59', Goal 74' 24 มิถุนายน 2555
6 ไทย เอกชัย สำเร บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ชัยนาท (เหย้า) 7-2[ลิงก์เสีย] Goal 12', Goal 47', Goal 56' 11 สิงหาคม 2555
7 บราซิล คลีตัน ซิลวา บีอีซี เทโรศาสน ชัยนาท (เหย้า) 3-0[ลิงก์เสีย] Goal 25', Goal 64', Goal 90+4' 9 กันยายน 2555
8 ไทย อมร ธรรมนาม บีอีซี เทโรศาสน ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ (เหย้า) 7-1[ลิงก์เสีย] Goal 61', Goal 71', Goal 80' 10 ตุลาคม 2555
9 ไทย ธีรศิลป์ แดงดา4 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด บีบีซียู (เยือน) 1-8[ลิงก์เสีย] Goal 35', Goal 37', Goal 70', Goal 73' 17 ตุลาคม 2555
10 ตรินิแดดและโตเบโก เคนดาล จาโดซิงก์ ชัยนาท เอฟซี วัวชน ยูไนเต็ด (เยือน) 2-4[ลิงก์เสีย] Goal 24', Goal 44', Goal 74' 21 ตุลาคม 2555
  • 4 ผู้เล่นที่ทำได้สี่ประตู

การทำประตู[แก้]

รางวัลสำหรับผู้จัดการทีม-ผู้เล่นยอดเยี่ยม[แก้]

รางวัลยอดเยี่ยมตำแหน่งต่างๆ ในการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก 2012

รางวัล ชื่อ ทีม
ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยม เซอร์เบีย สลาวีชา วอคานอวิช เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
ผู้ทำประตูสูงสุด บราซิล คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา บีอีซี เทโรศาสน
ไทย ธีรศิลป์ แดงดา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
กองหน้ายอดเยี่ยม ไทย ธีรศิลป์ แดงดา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
กองกลางยอดเยี่ยม ญี่ปุ่น คะซุโตะ คุชิดะ ชลบุรี
กองหลังยอดเยี่ยม ไทย ภานุพงศ์ วงศ์ษา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
ดาวรุ่งยอดเยี่ยม ไทย ชนาธิป สรงกระสินธ์ บีอีซี เทโรศาสน
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม ไทย สินทวีชัย หทัยรัตนกุล ชลบุรี
ทีมมารยาทยอดเยี่ยม ใบเหลือง : 49 ใบแดง : 0 ชลบุรี

สถิติผู้ชม[แก้]

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 260,415 23,033 9,763 15,319 +2.1%
2 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 228,256 21,155 8,811 13,427 +25.0%
3 เชียงราย ยูไนเต็ด 136,578 13,773 2,405 8,034 +115.3%
4 บางกอกกล๊าส 121,003 10,754 4,517 7,118 +24.7%
5 สงขลา ยูไนเต็ด 115,980 30,102 2,617 6,822 −9.5%
6 ชลบุรี 101,036 8,565 3,975 5,943 +9.4%
7 บีอีซี เทโรศาสน 61,929 6,124 1,053 3,643 +31.0%
8 อีสาน ยูไนเต็ด 58,843 6,871 1,748 3,461 −52.1%
9 เพื่อนตำรวจ 58,774 10,890 1,023 3,457 −4.9%
10 ชัยนาท 57,089 6,680 1,376 3,358 −7.3%
11 อาร์มี่ ยูไนเต็ด 55,512 5,927 1,712 3,265 −41.5%
12 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 47,483 4,943 1,450 2,793 −23.6%
13 การท่าเรือ 38,424 2,991 500 2,260 −18.2%
14 พัทยา ยูไนเต็ด 35,667 4,500 1,226 2,098 +15.7%
15 สมุทรสงคราม 32,490 3,632 0 1,911 −33.5%
16 ทีทีเอ็ม เชียงใหม่ 25,772 5,854 293 1,516 −32.3%
17 ทีโอที 24,551 3,606 549 1,444 +5.2%
18 บีบีซียู 15,967 2,673 235 939 +17.5%
รวม 1,475,769 30,102 0 4,823 +5.7%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2012
แหล่งข้อมูล: Thai Premier League

อ้างอิง[แก้]

  1. "Relegation looms on unlucky last day". Bangkok Post. Bangkok Post. 28 January 2012. สืบค้นเมื่อ January 2012. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. http://www.thaileaguedb.com/eng/leagues/view/16/Thai-Premiere-League THAI PREMIERE LEAGUE 2012
  3. "Top scorer Sponsor TPL 2012". thaipremierleague.co.th. บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จำกัด. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-25. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2555. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:ฟุตบอลในไทย 2555