ไบรต์ทีวี
(เปลี่ยนทางจาก สถานีโทรทัศน์ไบรท์ทีวี)
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
![]() | ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
![]() | |
ประเทศ | ![]() |
---|---|
พื้นที่แพร่ภาพ | ![]() |
เครือข่าย | ช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ |
คำขวัญ | ชีวิตดี ดูไบรท์ทีวี |
สำนักงานใหญ่ | 223/2 หมู่ 4 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี |
แบบรายการ | |
ระบบภาพ | 576ไอ (16:9 คมชัดปกติ) |
ความเป็นเจ้าของ | |
เจ้าของ | บริษัท ไบรท์ทีวี จำกัด |
บุคลากรหลัก |
|
ประวัติ | |
เริ่มออกอากาศ | 25 เมษายน พ.ศ. 2557 |
ยุติออกอากาศ | 15 สิงหาคม พ.ศ. 2562 (5 ปี 112 วัน) [1] |
ลิงก์ | |
เว็บไซต์ | www.brighttv.co.th |
ออกอากาศ | |
ภาคพื้นดิน | |
ดิจิทัล | ช่อง 20 (มักซ์#5 : ททบ.) |
เคเบิลทีวี | |
ช่อง 20 | |
ทีวีดาวเทียม | |
ทรูวิชั่นส์ | ช่อง 20 |
สื่อสตรีมมิง | |
Bright TV | ชมรายการสด |
ไบรท์ทีวี (อังกฤษ: Bright TV) เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ซึ่งผลิตโดยบริษัท ไบรท์ทีวี จำกัด (เดิมคือ บริษัท สามเอ มาร์เก็ตติง จำกัด) เสนอรายการข่าวสารที่เจาะลึก และสาระบันเทิงรวมถึงละครชุด ได้เข้าประมูลใบอนุญาตทีวีดิจิทัลช่องข่าว มาด้วยมูลค่า 1,298 ล้านบาท โดยเริ่มทดลองออกอากาศ ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 ไบรต์ทีวีได้คืนใบอนุญาตประกอบการธุรกิจทีวีดิจิทัลเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[2] และยุติการออกอากาศในวันที่ 16 สิงหาคม ปีเดียวกัน[3][4] ตลอด 5 ปีที่ออกอากาศ ทำรายได้รวม 798 ล้านบาท อันดับเรตติ้งดีที่สุด 20 ในปี 2561[5]
รายการข่าวภาคบังคับ[แก้]
- ข่าวในพระราชสำนัก - (ดึงสัญญาณภาพจากสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก หรือ ททบ.5HD1)
อดีตผู้ประกาศข่าวและผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์ไบรท์ทีวี[แก้]
- วรวี วูวนิช (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน (ปัจจุบันอยู่The Standard)
- ภาวินี แสลงสุข (ปัจจุบันอยู่ทรูโฟร์ยู)
- อรพรรณ ขันทองคำ (ปัจจุบันอยู่ไทยรัฐทีวี)
- มินทร์ลดา เจริญฐานุพงษ์ (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- อนุสรา ยินดีสุข (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- ชาญวิทย์ ลัภโต (ปัจจุบันอยู่ช่อง7 เอชดี)
- ณชนก เตมัยสมิธิ (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- โน๊ต เชิญยิ้ม (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- ภัทรนิษฐ์ โสภณอนันต์ชัย (ปัจจุบันอยู่ไทยพีบีเอส)
- สถาพร เกื้อสกุล (ปัจจุบันอยู่Top News)
- ชนุตรา เพชรมูล (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- วิศาล ดิลกวณิช (ปัจจุบันอยู่ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี)
- ธีระ ธัญญอนันต์ผล (ปัจจุบันอยู่ช่อง8)
- วรเทพ สุวัฒนพิมพ์ (ปัจจุบันอยู่Top Newsและช่องสุวรรณภูมิ)
- อัญชลีพร กุสุมภ์ (ปัจจุบันอยู่สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่องสุวรรณภูมิ)
- ศุภรัตน์ นาคบุญนำ (ปัจจุบันยุติทำหน้าที่แล้ว)
- ศักดิ์สิทธิ์ บุญรัตน์ (ปัจจุบันอยู่ไทยรัฐทีวี)
- ธนาคาร ธนาเกียรติภิญโญ (ปัจจุบันอยู่ไทยพีบีเอส)
- ณัฐพงษ์ เรียบสันเที้ยะ (ปัจจุบันอยู่ไทยรัฐทีวี)
- ปริญญา เปล่งเสียง (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- อาทิชา พึ่งสมศักดิ์ (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- ดร.ปนัดดา วงศ์ผู้ดี (ปัจจุบันเป็นสื่อมวลชนอิสระ)
- เกรียงไกรมาศ พจนสุนทร (ปัจจุบันอยู่ทีเอ็นเอ็น 16)
- เจ้าพระยา ท่าพระจันทร์ (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- รัชนีวรรณ ดวงแก้ว (ปัจจุบันอยู่บ้านอาสา)
- ธวลิตร์ เพชรพิสิฐโชติ (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- อร์วลัญช์ นันทะปัดตะแวว (ปัจจุบันยุติทำหน้าที่แล้ว)
- รัชตะ ไทยตระกูลพาณิชย์ (ปัจจุบันอยู่ช่องวัน 31)
- ภูมินทร์ สารสมบูรณ์ (ปัจจุบันอยู่ช่องวัน 31)
- อนุศักดิ์ ภูมิเทศ (ปัจจุบันอยู่ช่องวัน 31)
- นรพร พจน์จำเนียร (ปัจจุบันอยู่ช่องวัน 31)
- ธราวุฒิ ฤทธิอักษร (ปัจจุบันอยู่บ้านอาสา)
- ยุคล วิเศษสังข์ (ปัจจุบันอยู่ JKN TV และสื่อออนไลน์ภายใต้ชื่อ "EasyYukhon")
- ณัฐดนัย อัษฎาเดช (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- ขวัญธรรมภรณ์ ทิพยโกศัย (ปัจจุบันยุติบทบาทหน้าที่แล้ว)
- ปพัชญา นิภานันท์ (ปัจจุบันอยู่PPTV)
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ยามเฝ้าจอ (12 สิงหาคม 2562). "นับถอยหลังอีก 3 วัน! ทีวีดิจิทัล 3 ช่อง คือ #SpringNews #BrightTV และ #Spring26 ถึงเวลาต้องโบกมือลาผู้ชมแล้ว ในเวลา 23:59 น. ของวันที่ 15 สิงหาคม 2562 (5 ทุ่มของวันที่ 15 ต่อเที่ยงคืนวันที่ 16)". www.facebook.com. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ TV Digital Watch (10 พฤษภาคม 2562). "ปิดฉากทีวีดิจิทัล 7 ช่อง: อวสานช่องเด็ก เหลือทีวีดิจิทัลเอกชน 15 ช่อง". www.tvdigitalwatch.com. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ สนุก.คอม (11 กรกฎาคม 2562). "กสทช. สรุปคืนใบอนุญาตทีวีดิจิทัล 7 ช่อง รวมค่าชดเชย 2,932 ล้านบาท". www.sanook.com. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "ขอบคุณ" ที่ร่วมกันสร้าง ชีวิตดีดูไบรท์ทีวี มาตลอด 5 ปี
- ↑ "ปิดฉาก "7 ช่อง" ทีวีดิจิทัล บนเส้นทางวิบาก ย้อนดูผลงาน 5 ปี "เรตติ้ง" ดิ่ง ขาดทุนอ่วม". โพซิชันนิงแมก. 15 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2562. Check date values in:
|access-date=, |date=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
|