ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติกาบอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กาบอง
Shirt badge/Association crest
ฉายาLes Panthères
(เสือดำ)
เสือดำแห่งกาฬทวีป (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลกาบอง
สมาพันธ์ย่อยUNIFFAC (แอฟริกากลาง)
สมาพันธ์CAF (แอฟริกา)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนPatrice Neveu
กัปตันบรูโน ม็องกา
ติดทีมชาติสูงสุดดีดีเย โอโวโน (112)
ทำประตูสูงสุดปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์ (30)
สนามเหย้าStade d'Angondjé
รหัสฟีฟ่าGAB
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 84 Steady (19 ธันวาคม 2024)[1]
อันดับสูงสุด30 (กรกฎาคม ค.ศ. 2009)
อันดับต่ำสุด125 (เมษายน–พฤษภาคม ค.ศ. 2003)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
 อัปเปอร์วอลตา 5–4 กาบอง 
(มาดากัสการ์; 13 เมษายน ค.ศ. 1960)
ชนะสูงสุด
 กาบอง 7–0 เบนิน 
(ลีเบรอวีล ประเทศกาบอง; 2 เมษายน ค.ศ. 1995)
แพ้สูงสุด
 แคเมอรูน 6–0 กาบอง 
(อาบีจาน ประเทศโกตดิวัวร์; 26 ธันวาคม ค.ศ. 1961)
 โมร็อกโก 6–0 กาบอง 
(ราบัต ประเทศโมร็อกโก; 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006)
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
เข้าร่วม8 (ครั้งแรกใน 1994)
ผลงานดีที่สุดรอบ 8 ทีมสุดท้าย, 1996 และ 2012

ฟุตบอลทีมชาติกาบอง ฉายา เสือดำ เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศกาบอง ควบคุมโดยสมาคมฟุตบอลกาบอง กาบองไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก แต่ผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ถึง 8 ครั้ง[2]

เกียรติประวัติ

[แก้]

ยูนิแฟคคัพ :

  • ชนะเลิศ: 1999

ยูดีแอคคัพ :

  • ชนะเลิศ: 1985, 1988
  • รองชนะเลิศ: 1989

เซแมคคัพ :

  • ชนะเลิศ: 2013
  • รองชนะเลิศ: 2007

สถิติการแข่งขัน

[แก้]

ฟุตบอลโลก

[แก้]
  • 1930 ถึง 1962ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1966ถอนตัว
  • 1970ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1974ถอนตัว
  • 1978 ถึง 1986ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1990 ถึง 2022ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์

[แก้]
เจ้าภาพ / ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
ประเทศซูดาน 1957 ถึง
ประเทศซูดาน 1970
ไม่ได้เข้าร่วม
ประเทศแคเมอรูน 1972 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศอียิปต์ 1974 ถอนตัว
ประเทศเอธิโอเปีย 1976 ไม่ได้เข้าร่วม
ประเทศกานา 1978 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศไนจีเรีย 1980 ไม่ได้เข้าร่วม
ประเทศลิเบีย 1982 ถอนตัว
ประเทศโกตดิวัวร์ 1984 to
ประเทศเซเนกัล 1992
ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศตูนิเซีย 1994 รอบแบ่งกลุ่ม 12th 2 0 0 2 0 4
ประเทศแอฟริกาใต้ 1996 รอบก่อนรองชนะเลิศ 7th 3 1 0 2 4 3
ประเทศบูร์กินาฟาโซ 1998 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศกานาประเทศไนจีเรีย 2000 รอบแบ่งกลุ่ม 16th 3 0 1 2 2 6
ประเทศมาลี 2002 ถึง
ประเทศกานา 2008
ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศแองโกลา 2010 รอบแบ่งกลุ่ม 10th 3 1 1 1 2 2
ประเทศกาบองประเทศอิเควทอเรียลกินี 2012 รอบก่อนรองชนะเลิศ 5th 4 3 1 0 7 3
ประเทศแอฟริกาใต้ 2013 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศอิเควทอเรียลกินี 2015 รอบแบ่งกลุ่ม 12th 3 0 2 1 1 3
ประเทศกาบอง 2017 รอบแบ่งกลุ่ม 9th 3 0 3 0 2 2
ประเทศแคเมอรูน 2019 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศโกตดิวัวร์ 2021 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 4 1 3 0 5 4
ประเทศกินี 2023 รอประกาศ

แอฟริกันเนชันส์แชมเปียนชิป

[แก้]
  • 2009ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • 2011 – รอบแบ่งกลุ่ม
  • 2014 – รอบก่อนรองชนะเลิศ
  • 2016 – รอบแบ่งกลุ่ม
  • 2018ถอนตัว
  • 2020ถูกสั่งห้ามไม่ให้แข่งขัน[3]

สถิติ

[แก้]
ณ วันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 2021[4]
ตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นที่ยังลงเล่นให้แก่ทีมชาติในปัจจุบัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 19 ธันวาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2024.
  2. 2. "Gabon make an impact by Firdose Moonda". Espn Fc. สืบค้นเมื่อ 2014-02-20.{{cite web}}: CS1 maint: numeric names: authors list (ลิงก์)
  3. "Gabon, Djibouti suspended for Total CHAN 2020". CAF. 15 November 2017.
  4. Mamrud, Roberto. "Gabon – Record International Players". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 15 October 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]