ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน475,928
ผู้ใช้สิทธิ63.46%
  First party Second party Third party
 
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย บรรหาร ศิลปอาชา ชวลิต ยงใจยุทธ
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Amnuay Viravan.jpg
ผู้นำ อำนวย วีรวรรณ
พรรค นำไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอด่านมะขามเตี้ย, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอเลาขวัญ และกิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พลเอก วัฒนชัย วุฒิศิริ (4) 99,913 64.30
ความหวังใหม่ พลตรี ศรชัย มนตริวัต (1)* 95,512 61.47
ชาติไทย นาวาโท เดชา สุขารมณ์ (10)* 82,738 53.25
ความหวังใหม่ ไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร (2)* 81,756 52.62
ชาติพัฒนา มนูญ พงษ์วัฒนา (13) 29,912 19.25
พลังธรรม พินิจ จันทร์สมบูรณ์ (7)✔ 18,506 11.91
ความหวังใหม่ สมานมิตร์ สุขท่า (3) 3,656 2.35
ประชาธิปัตย์ ธนาบูรณ์ ธนธิติ (5) 2,727 1.76
ประชาธิปัตย์ ธนาธิป ธนธิติ (6) 1,869 1.20
ชาติไทย ชูชีพ วิสุทธาภรณ์ (11) 1,777 1.14
ชาติไทย วรรณี เอี่ยมทอง (12) 1,095 0.70
พลังธรรม ไฉน ไพรดี (9) 1,032 0.66
ชาติพัฒนา ประสงค์ ลีละสุนทเลิศ (14) 965 0.62
พลังธรรม ว่าที่ร้อยตำรวจตรี ชัยยุทธ์ จันทรสมบูรณ์ (8) 958 0.62
ชาติพัฒนา วีรยุทธ บัวรอด (15) 620 0.40
บัตรดี 155,374 96.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,322 0.82
บัตรเสีย 4,968 3.07
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 161,664 62.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 257,908 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก นำไทย
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก นำไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอท่าม่วง, อำเภอพนมทวน, อำเภอท่ามะกา และกิ่งอำเภอห้วยกระเจา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประชา โพธิพิพิธ (3)* 90,264 67.71
ชาติไทย เรวัต สิรินุกุล (1)* 77,671 58.26
ประชาธิปัตย์ สันทัด จีนาภักดิ์ (4)✔ 69,797 52.36
ชาติไทย อ้อย ไผทฉันท์ (2) 8,237 6.18
บัตรดี 133,307 94.97
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,125 1.51
บัตรเสีย 4,943 3.52
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 140,375 64.39
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 218,020 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-06-28. สืบค้นเมื่อ 2024-06-24.