ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563–64"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
จักรกริช บุญคำ โค้ชคนใหม่ของทีมขอนแก่น
บรรทัด 238: บรรทัด 238:
|-
|-
|[[สโมสรฟุตบอลจังหวัดขอนแก่น|ขอนแก่น]]
|[[สโมสรฟุตบอลจังหวัดขอนแก่น|ขอนแก่น]]
|{{flagicon|THA}} [[จักรกริช บุญคำ]]
|ว่าง
|{{flagicon|THA}} {{sortname|อนุพันธุ์|เกิดสมพงษ์}}
|{{flagicon|THA}} {{sortname|อนุพันธุ์|เกิดสมพงษ์}}
|[[แกรนด์สปอร์ต]]
|[[แกรนด์สปอร์ต]]
บรรทัด 440: บรรทัด 440:
| พฤษภาคม 2563
| พฤษภาคม 2563
| อันดับที่ 16
| อันดับที่ 16
|{{flagicon|THA}} [[จักรกริช บุญคำ]]
|
| พฤษภาคม 2563
|
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:00, 28 พฤษภาคม 2563

ไทยลีก 2
ฤดูกาล2563
2562

ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563 หรือ เอ็ม–150 เดอะแชมเปียนชิป ฤดูกาล 2563 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือโอสถสภา เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก 2 ฤดูกาลที่ 23 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสองของประเทศไทย โดยจะมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 18 สโมสร แข่งขันแบบพบกันหมดในระบบเหย้า-เยือน สโมสรที่ได้ 2 อันดับแรกจะได้เลื่อนชั้นไปเล่นในไทยลีกโดยอัตโนมัติ และทีมอันดับ 3-6 จะได้สิทธิ์เตะเพลย์ออฟ เพื่อหาแชมป์เพลย์ออฟขึ้นไปเล่นในไทยลีกอีก 1 ทีม ในฤดูกาลถัดไป ในขณะที่สโมสรที่ได้ 3 อันดับสุดท้ายจะต้องตกชั้นลงไปแข่งขันในไทยลีก 3 ในฤดูกาลถัดไป

การเปลี่ยนแปลงสโมสรจากฤดูกาลที่แล้ว

หลังสิ้นสุดการแข่งขันฤดูกาล 2562 มีสโมสรฟุตบอลที่ประกาศถอนตัวไม่ส่งทีมเข้าแข่งขันในฤดูกาล 2563 จำนวน 3 สโมสร ได้แก่ พีทีที ระยองในไทยลีก ไทยฮอนด้า[1]และอาร์มี่ ยูไนเต็ด[2]ในไทยลีก 2 เนื่องจากสมาคมฟุตบอลฯ ต้องการคงจำนวนทีมที่เข้าแข่งขันในไทยลีก (16) และไทยลีก 2 (18) ในฤดูกาล 2563 ด้วยเหตุผลด้านการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ ทำให้สุพรรณบุรีซึ่งจบฤดูกาลได้อันดับที่ 14 ในไทยลีกยังคงได้สิทธิแข่งขันในไทยลีกต่อไปร่วมกับบีจี ปทุม ยูไนเต็ด, โปลิศ เทโร และระยองซึ่งเลื่อนชั้นขึ้นไป ในขณะที่ชัยนาท ฮอร์นบิลและเชียงใหม่ตกชั้นลงมาแข่งขันในไทยลีก 2 ส่วนสโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก 2 เดิมมีจำนวน 3 สโมสรได้แก่ ราชนาวี, อุบล ยูไนเต็ด และอยุธยา ยูไนเต็ด แต่เนื่องจากจำนวนทีมในไทยลีก 2 ขาดไป 2 ทีม ทำให้ราชนาวีได้สิทธิแข่งขันต่อไปเป็นทีมแรก ส่วนทีมที่สองได้แก่อยุธยา ยูไนเต็ดเนื่องจากอุบล ยูไนเต็ดที่จบฤดูกาลได้อันดับดีกว่าไม่ผ่านเกณฑ์คลับไลเซนซิง และถูกปรับตกชั้นลงไปแข่งขันไทยลีก 4[1]

ต่อมาในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 พลเอกอภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารบก และประธานสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ได้ประกาศยุบสโมสรเนื่องจากไม่ประสบความสำเร็จ สมาคมฟุตบอลฯ จึงตัดสินให้แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ได้เลื่อนชั้นขึ้นมาแข่งขันเป็นทีมที่ 4 ต่อจาก ขอนแก่น ยูไนเต็ด และ นครปฐม ยูไนเต็ด ซึ่งชนะเลิศจากแต่ละโซน และ แพร่ ยูไนเต็ด ซึ่งเพลย์ออฟชนะระนอง ยูไนเต็ด[2] และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ทางสโมสรฟุตบอลแอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ได้แจ้งว่ามีการขายสิทธิ์การทำทีมให้กับ นายชาดา ไทยเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.อุทัยธานี สังกัดพรรคภูมิใจไทย และเปลี่ยนชื่อสโมสรเป็น สโมสรฟุตบอลอุทัยธานี[3]

เข้าสู่ไทยลีก 2

ตกชั้นจาก ไทยลีก
เลื่อนชั้นจาก ไทยลีก 3

ออกจากไทยลีก 2

เลื่อนชั้นสู่ ไทยลีก 1
ตกชั้นสู่ ไทยลีก 4
ถอนทีม

สโมสร

ที่ตั้งของสโมสรจากกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในการแข่งขันไทยลีก 2 ฤดูกาล 2563

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2563 มีจำนวน 18 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562 จำนวน 12 สโมสร สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก ฤดูกาล 2562 จำนวน 2 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยลีก 3 ฤดูกาล 2562 จำนวน 4 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2562
เกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ 5,000 12
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ระนอง สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง 7,000 4 (ไทยลีก 3)
ขอนแก่น ขอนแก่น สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 7,000 8
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ขอนแก่น สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 6,500 1 (ไทยลีก3)
ชัยนาท ฮอร์นบิล ชัยนาท เขาพลองสเตเดียม 8,625 15 (ไทยลีก)
เชียงใหม่ เชียงใหม่ สนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่ 5,000 16 (ไทยลีก)
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด เชียงใหม่ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000 11
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร สมุทรสาคร สนามกีฬาจังหวัดสมุทรสาคร 3,500 13
นครปฐม ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 2 (ไทยลีก3)
แพร่ ยูไนเต็ด แพร่ สนามกีฬาเทศบาลตำบลทุ่งโฮ้ง 4,500 3 (ไทยลีก3)
ราชนาวี ชลบุรี (สัตหีบ) สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 5,000 16
ลำปาง ลำปาง สนามกีฬากลางจังหวัดลำปาง 5,500 10
ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ สนามกีฬาศรีนครลำดวน 10,000 4
หนองบัว พิชญ หนองบัวลำภู สนามกีฬากลางจังหวัดหนองบัวลำภู 4,333 9
อยุธยา ยูไนเต็ด พระนครศรีอยุธยา สนามกีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6,000 18
อุดรธานี อุดรธานี สนามกีฬากกท.จังหวัดอุดรธานี 10,000 7
อุทัยธานี อุทัยธานี สนามกีฬากลางจังหวัดอุทัยธานี 4,477 14
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด สมุทรปราการ (บางพลี) สนามกีฬาลาดกระบัง 54 2,000 15
หมายเหตุ

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
เกษตรศาสตร์ ไทย สมเด็จ หิตเทศ ไทย สมปอง สอเหลบ แกรนด์สปอร์ต ไก่ย่างตะนาวศรี
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด สวิตเซอร์แลนด์ ดาเมียน เบลลอง ไทย วิชญะ แก่นทอง ยูเรก้า พีที, ลีโอ, แอร์เอเชีย
ขอนแก่น ไทย จักรกริช บุญคำ ไทย เกิดสมพงษ์, อนุพันธุ์อนุพันธุ์ เกิดสมพงษ์ แกรนด์สปอร์ต ลีโอเบียร์
อบจ.ขอนแก่น
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ ไทย สกลวัชร์ สกลหล้า โอเซล ลีโอเบียร์
ชัยนาท ฮอร์นบิล เยอรมนี โรนัลด์ โบเน็ตติ ไทย ปริญญา อู่ตะเภา วอริกซ์ วังขนาย, ลีโอ2, ดูคาติ2
เชียงใหม่ ไทย อำนาจ แก้วเขียว ไทย สุวรรณภัทร กิ่งแก้ว โวลต์ ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์1, เมืองไทยประกันชีวิต2
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด บราซิล การ์ลุส เอดูอาร์ดู เปย์ไรรา ปารากวัย แองเจโล มาชูกา โวลต์ มูส
แพร่ ยูไนเต็ด ไทย อานนท์ บรรดาศักดิ์ ไทย รัฐพล อัฐวงศ์ แกรนด์สปอร์ต สามารถเทลคอม
ราชนาวี ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล ไทย ภานุวัฒน์ กองจันทร์ เวอร์ซุส เอชอาร์-โปร
ลำปาง ไทย ประเสริฐ ช้างมูล ไทย ชลทิตย์ จันทคาม เดฟโฟ บางกอก แอร์เวย์
ศรีสะเกษ ไทย วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ ญี่ปุ่น ฮิโรมิชิ คาตาโนะ วอริกซ์ เมืองไทย
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร เซอร์เบีย ดราแกน ดูเยวิช ไทย นพพล ผลอุดม โอกาเนะ ไทยยูเนียน
นครปฐม ยูไนเต็ด ไทย ธงชัย สุขโกกี ไทย โชคชัย ชูชัย เบียร์ช้าง, เทพผดุงพรมะพร้าว
หนองบัว พิชญ ไทย สมชาย ชวยบุญชุม ไทย กิตติคุณ แจ่มสุวรรณ วอริกซ์ วิทยาลัยพิชญบัณฑิต
อยุธยา ยูไนเต็ด ไทย สันติ ไชยเผือก ไทย ดัสกร ทองเหลา พีแกน กัลฟ์,เบียร์ช้าง

อบจ.พระนครศรีอยุธยา

อุดรธานี ไทย จักรราช โทนหงษา ไทย ประกิต ดีพร้อม เวอร์ซุส ลีโอเบียร์
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ ไทย มงคลชัย กองจำปา เวอร์ซุส เน็กซ์
อุทัยธานี ไทย ธนเสฏฐ์ อมรสินกิตติโชติ ไทย สุชนม์ สงวนดี ออก้า พรรณงาม
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้งและอัตลักษณ์

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ชัยนาท ฮอร์นบิล เยอรมนี เดนนิส อามาโต ลาออก ตุลาคม 2562 ก่อนเปิดฤดูกาล เยอรมนี โรนัลด์ โบเน็ตติ พฤศจิกายน 2562
ขอนแก่น ยูไนเต็ด ไทย ปฏิภัทร รอบรู้ หมดสัญญา ญี่ปุ่น ซูงาโอะ คัมเบะ
เชียงใหม่ ไทย สุรพงษ์ คงเทพ ไทย วรวุฒิ วังสวัสดิ์
ศรีสะเกษ ไทย สมชาย ชวยบุญชุม ไทย วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ
หนองบัว พิชญ ไอร์แลนด์เหนือ แมตต์ ฮอลแลนด์ ไทย สมชาย ชวยบุญชุม
เกษตรศาสตร์ ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ ไทย สมเด็จ หิตเทศ มกราคม 2563
ศุลกากร ยูไนเต็ด ไทย สมเด็จ หิตเทศ ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ พฤศจิกายน 2562
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด ไทย นราศักดิ์ บุญเกลี้ยง ไทย ธนเสฏฐ์ อมรสินกิตติโชติ
ขอนแก่น ญี่ปุ่น มาซายูกิ มิอูระ ไทย ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย ธันวาคม 2562
ราชนาวี ไทย วิริยะ เผ่าพันธุ์ ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล
อยุธยา ยูไนเต็ด ไทย พัฒนพงษ์ ศรีปราโมช ไทย สันติ ไชยเผือก
เชียงใหม่ ไทย วรวุฒิ วังสวัสดิ์ ธันวาคม 2562 ไทย อำนาจ แก้วเขียว
ลำปาง เซอร์เบีย เซอร์จาน ทราอิโลวิช มกราคม 2563 ไทย อรรถกร แสนเพ็ง มกราคม 2563
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ไทย สุรชัย จิระศิริโชติ บราซิล การ์ลุส เอดูอาร์ดู เปย์ไรรา
ลำปาง ไทย อรรถกร แสนเพ็ง ไล่ออก มีนาคม 2563 อันดับที่ 14 ไทย ประเสริฐ ช้างมูล มีนาคม 2563
ขอนแก่น ไทย ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย พฤษภาคม 2563 อันดับที่ 16 ไทย จักรกริช บุญคำ พฤษภาคม 2563

ผลการแข่งขัน

เหย้า / เยือน 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 16 17 18
เกษตรศาสตร์ (01) 5–0 1–1
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด (02) 2–1 0–1
ขอนแก่น (03) 0–0 0–1
ขอนแก่น ยูไนเต็ด (04) 2–1 3–0
ชัยนาท ฮอร์นบิล (05) 1–1 1–0
เชียงใหม่ (06) 5–0 1–0
เชียงใหม่ ยูไนเต็ด (07) 3–0 1–0
ไทยยูเนียน สมุทรสาคร (08) 2–2 1–1
นครปฐม ยูไนเต็ด (09) 0–1 2–0
แพร่ ยูไนเต็ด (10) 1–0 0–0
ราชนาวี (11) 1–0 3–2
ลำปาง (12) 1–0 0–1
ศรีสะเกษ (13) 1–0 0–1
หนองบัว พิชญ (14) 3–0 2–2
อยุธยา ยูไนเต็ด (15) 0–2 3–4
อุดรธานี (16) 0–0 1–1
อุทัยธานี (17) 3–3 0–1
เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด (18) 1–1 0–1
การแข่งขันจะเริ่มขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563. ที่มา: ไทยลีก 2
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
อักษร "a" สำหรับการแข่งขันที่ยังไม่เกิดขึ้นหมายความว่ามีบทความเกี่ยวกับการแข่งขันนัดนี้

ตารางคะแนน

อันดับ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การเลื่อนชั้นหรือการตกชั้น
1 หนองบัว พิชญ (C, P) 34 21 12 1 63 16 +47 75 เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2564–65
2 เชียงใหม่ ยูไนเต็ด (P) 34 20 9 5 64 28 +36 69
3 นครปฐม ยูไนเต็ด 34 17 10 7 66 36 +30 61 ผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟ
4 ขอนแก่น ยูไนเต็ด (P) 34 18 6 10 56 37 +19 60
5 แพร่ ยูไนเต็ด 34 16 11 7 49 27 +22 59
6 ชัยนาท ฮอร์นบิล 34 16 9 9 61 47 +14 57
7 เชียงใหม่ 34 16 8 10 56 45 +11 56
8 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 34 16 5 13 45 39 +6 53
9 อยุธยา ยูไนเต็ด 34 13 8 13 46 45 +1 47
10 ขอนแก่น 34 11 8 15 34 38 −4 41
11 ราชนาวี 34 11 7 16 47 53 −6 40
12 ลำปาง 34 11 7 16 39 46 −7 40
13 เอ็มโอเอฟ ศุลกากร ยูไนเต็ด 34 11 6 17 37 62 −25 39
14 เกษตรศาสตร์ 34 11 5 18 34 53 −19 38
15 อุดรธานี 34 9 11 14 44 46 −2 38
16 ศรีสะเกษ (R) 34 9 9 16 34 44 −10 36 ตกชั้นสู่ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2564–65
17 อุทัยธานี (R) 34 5 10 19 34 53 −19 25
18 ไทยยูเนียน สมุทรสาคร (R) 34 2 5 27 25 119 −94 11
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 มีนาคม 2564. แหล่งที่มา : ไทยลีก 2
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล: 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. จำนวนประตูได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสียของมินิลีก 4. จำนวนประตูได้ของมินิลีก 5. ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6. จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7. คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8. เพลย์ออฟ[6]
(C) ชนะเลิศ; (P) เลื่อนชั้น; (R) ตกชั้น.

อันดับของสโมสรในแต่ละสัปดาห์ ของแต่ละสโมสรต่างๆที่อยู่ใน ลีค2

ชนะเลิศและเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
รองชนะเลิศและเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
เข้ารอบเพลย์ออฟเลื่อนชั้นสู่ไทยลีก
ตกชั้นสู่ไทยลีก 3
การแข่งขันจะเริ่มขึ้นในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 อ้างอิง: ไทยลีก 2

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "มิติใหม่ลูกหนังไทย! ส.บอล มีมติ อยุธยา ยู – นาวี ไม่ตกชั้น T2". supersubthailand.com. 23 พฤศจิกายน 2562. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "ตัวแทนอาร์มี่! ไทยลีก ยัน ระนอง เลื่อนขึ้นลีกพระรอง". supersubthailand.com. 13 ธันวาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  3. แอร์ฟอร์ซขายสิทธิ์ทำทีมเปลี่ยนชื่อเป็น อุทัยธานี เอฟซี
  4. "ต้อนรับปี 2020 !เจแอล เชียงใหม่ฯเปลี่ยนชื่อ "เชียงใหม่ ยูไนเต็ด"".
  5. "พยัคฆ์หวนใช้สนามเทศบาลฯ รังเหย้าปี 2020". supersubthailand.com. 17 ธันวาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 2" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.