ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวกุเวร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: or:କୁବେର
Wirawat Srimaneesiri (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''กุเวร''' ({{lang-sa|कुबेर}} ''กุเพร'', {{lang-pi|कुवेर}} ''กุเวร'', {{lang-ta|குபேரன்}} ''กุเปรัน'') เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง และเป็นเทวราชผู้ปกครองเหล่า[[ยักษ์]] (จัดเป็นพวกกึ่งเทพกึ่งมาร) ตามคติใน[[ศาสนาฮินดู]] นับถือกันว่าพระองค์เป็น[[ทิกบาล]]หรือเทพประจำทิศเหนือ และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก ([[โลกบาล]])
'''กุเวร''' ({{lang-sa|कुबेर}} ''กุเพร'', {{lang-pi|कुवेर}} ''กุเวร'', {{lang-ta|குபேரன்}} ''กุเปรัน'') เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง และเป็นเทวราชผู้ปกครองเหล่า[[ยักษ์]] (จัดเป็นพวกกึ่งเทพกึ่งมาร) ตามคติใน[[ศาสนาฮินดู]] นับถือกันว่าพระองค์เป็น[[ทิกบาล]]หรือเทพประจำทิศเหนือ และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก ([[โลกบาล]])


ท้าวกุเวรได้ถูกกลืนเข้าไปในความเชื่อการนับถือเทพในศาสนาพุทธและศาสนาเชน ในศาสนาพุทธนั้นท้าวกุเวรถูกเรียกว่า "[[ท้าวเวสสุวรรณ]]" ({{lang-sa|वैश्रवण}} ''ไวศฺรวณ'', {{lang-pi| वेस्सवण}} ''เวสฺสวณ'') ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti)
ท้าวกุเวรได้มาจากความเชื่อการนับถือเทพในศาสนาพุทธและศาสนาเชน ในศาสนาพุทธนั้นท้าวกุเวรถูกเรียกว่า "[[ท้าวเวสสุวรรณ]]" ({{lang-sa|वैश्रवण}} ''ไวศฺรวณ'', {{lang-pi| वेस्सवण}} ''เวสฺสวณ'') ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti)


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:31, 7 มกราคม 2556

ท้าวกุเวรทรงมนุษย์เป็นพาหนะ

กุเวร (สันสกฤต: कुबेर กุเพร, บาลี: कुवेर กุเวร, ทมิฬ: குபேரன் กุเปรัน) เป็นชื่อของเทพแห่งความมั่งคั่ง และเป็นเทวราชผู้ปกครองเหล่ายักษ์ (จัดเป็นพวกกึ่งเทพกึ่งมาร) ตามคติในศาสนาฮินดู นับถือกันว่าพระองค์เป็นทิกบาลหรือเทพประจำทิศเหนือ และเป็นเทพผู้คุ้มครองโลก (โลกบาล)

ท้าวกุเวรได้มาจากความเชื่อการนับถือเทพในศาสนาพุทธและศาสนาเชน ในศาสนาพุทธนั้นท้าวกุเวรถูกเรียกว่า "ท้าวเวสสุวรรณ" (สันสกฤต: वैश्रवण ไวศฺรวณ, บาลี: वेस्सवण เวสฺสวณ) ตามนามโคตรของท้าวกุเวรในศาสนาฮินดู ส่วนในศาสนาเชนจะเรียกเทพองค์นี้ว่า ศารวนุภูติ (Sarvanubhuti)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Hopkins, Edward Washburn (1915). Epic mythology. Strassburg K.J. Trübner. ISBN 0842605606. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Sutherland, Gail Hinich (1991). The disguises of the demon: the development of the Yakṣa in Hinduism and Buddhism. SUNY Press. ISBN 0791406229. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)

แม่แบบ:Link GA