ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 – โซนภาคใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 โซนภาคใต้
ฤดูกาล2567–68
วันที่14 กันยายน 2567 – 29 มีนาคม 2568
จำนวนนัด48
จำนวนประตู93 (1.94 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสมปราชญ์ เรืองนุ่น
(6 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
4 ประตู
กระบี่ 4–0 พีที สตูล
(27 ตุลาคม 2567)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
2 ประตู
กระบี่ 0–2 ยะลา
(28 กันยายน 2567)
ระนอง ยูไนเต็ด 1–3 เมืองตรัง ยูไนเต็ด
(16 ตุลาคม 2567)
จำนวนประตูสูงสุด6 ประตู
เมืองตรัง ยูไนเต็ด 4–2 กระบี่
(3 พฤศจิกายน 2567)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
2 นัด
นรา ยูไนเต็ด
ปัตตานี
พีที สตูล
ยะลา
สงขลา
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
8 นัด
นรา ยูไนเต็ด
สงขลา
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
ยะลา ซิตี้
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
ระนอง ยูไนเต็ด
จำนวนผู้ชมสูงสุด3,408 คน
พีที สตูล 0–0 ยะลา
(16 ตุลาคม 2567)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม57,304 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย1,219 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2567

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 โซนภาคใต้ เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 8 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

สโมสร

[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2567–68 โซนภาคใต้ มีจำนวน 12 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากฤดูกาล 2566–67 จำนวน 10 สโมสร สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก 2 จำนวน 1 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2566–67
กระบี่ กระบี่ สนามกีฬากลางจังหวัดกระบี่ 5,000 18 (ไทยลีก 2)
นรา ยูไนเต็ด นราธิวาส สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส 2,000 7
ปัตตานี ปัตตานี สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 12,000 3
พัทลุง พัทลุง สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง 4,000 2
พีที สตูล สตูล สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล 5,000 4
พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ สุราษฎร์ธานี สนามกีฬามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 6
ภูเก็ต อันดามัน ภูเก็ต สนามกีฬาสุระกุล 16,000 9
เมืองตรัง ยูไนเต็ด ตรัง เมืองตรังสเตเดียม 2,200 5
ยะลา ยะลา
(เมืองยะลา)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2,167 8
ยะลา ซิตี้ สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตยะลา 3,000 1 (ทีเอส)
ระนอง ยูไนเต็ด ระนอง สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง 7,000 11
สงขลา สงขลา สนามกีฬาติณสูลานนท์ 24,121 1

ข้อมูลสโมสร

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
กระบี่ ไทย สระราวุฒิ ตรีพันธ์ ไทย สุชาติ ชายใหญ่ ดับเบิลซอกเกอร์
นรา ยูไนเต็ด ไทย สันติสุข ไชยศล ไทย สมนึก แก้วอาภรณ์ รันนารา
ปัตตานี ไทย ภัทรพล นาประเสริฐ บราซิล มาร์ลง ดา ซิลวา เมสซ์
พัทลุง ไทย เอกสิทธิ์ คงสมแสวง (รักษาการ) ไทย เอกพงศ์ ทอชุม
พีที สตูล ไทย นัสรุดดีน ฮับยูโซ๊ะ (รักษาการ) ไทย ไชยา นัครี ไอมาเน
พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ ไทย อธิษฐาน คงทรัพย์ ไทย สราวุธ ชิตไทย พาซสปอร์ต
ภูเก็ต อันดามัน ไทย ภูวนาท แสงศรี ไทย ปฐพี เทียมทัน โอไอเอ็น
เมืองตรัง ยูไนเต็ด ไทย ประจักษ์ เวียงสงค์ ไทย อานนท์ ปานมีทอง
ยะลา ไทย นิรุณตร์ อัศวภักดี ไทย อาดัม ลัสสะมานอ ยูเอ็มสปอร์ต
ยะลา ซิตี้ ไทย นุรดิน อาสาบาโงย ไทย มูฮำหมัดซัลฟาดี เจ๊ะเต๊ะ เอสเอชสปอร์ต
ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ปองภพ เกลื่อนสิน (รักษาการ) ไทย ทัศไนย์ คุ้มครอง ออฟไซด์ดีไซน์
สงขลา ญี่ปุ่น ไดกิ ฮิงูจิ ไทย อับดุลฮาฟิส นิบู เอกทีเอทสปอร์ต

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
กระบี่ เลกที่ 1 อียิปต์ อับเดลระฮ์มัน เซดดิก รัสเซีย อาลิม ซูมาคูลอฟ อิรัก เอซซุลด์ดิน อัลบัสซัม
เลกที่ 2
นรา ยูไนเต็ด เลกที่ 1 อาร์เจนตินา ฆวน โอโดริซิโอ บราซิล ไคอู ดา กงไซเซา ซิลวา ญี่ปุ่น เรียวเฮ มาเอดะ
เลกที่ 2
ปัตตานี เลกที่ 1 บราซิล เฟลีเป นูเนส บราซิล มาร์ลง ดา ซิลวา บราซิล โรมารีอู อัลวิส
เลกที่ 2
พัทลุง เลกที่ 1 บราซิล ไคอู เซนา บราซิล เอรีแวลตู บราซิล ลูกัส เกาเดนซีอู มูไรส์
เลกที่ 2
พีที สตูล เลกที่ 1 บราซิล กีกี บราซิล วิกตูร์ กาปีนัน สาธารณรัฐคองโก บูร์เนล อ็อกานา-ซตาซี
เลกที่ 2
พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ เลกที่ 1 บราซิล ฌูซีมาร์ ตีอากู ดา ซิลวา มาลี อาเรอมูว์ กาซิม ประเทศพม่า พโยมีนละ
เลกที่ 2
ภูเก็ต อันดามัน เลกที่ 1 อียิปต์ อุซะมะ ตอร์กี โกตดิวัวร์ กูลีบาลี โชมานา
เลกที่ 2
เมืองตรัง ยูไนเต็ด เลกที่ 1 บราซิล จีโอกู เปเรย์รา บราซิล วิลเลียม เอ็งรีกี เยอรมนี โฟลดีน บาโลคิ
เลกที่ 2
ยะลา เลกที่ 1 บราซิล ฌอห์น ไคอู กานา จอร์จ ซีเนียร์ อัตตา เกาหลีใต้ ช็อง ฮย็อน-กู
เลกที่ 2
ยะลา ซิตี้ เลกที่ 1
เลกที่ 2
ระนอง ยูไนเต็ด เลกที่ 1 บราซิล กิลแยร์มี อาราอูฌู ฝรั่งเศส ฟร็องก์ กูเอนต์ชี สหรัฐ ไคอู ดา ซิลวา
เลกที่ 2
สงขลา เลกที่ 1 อาร์เจนตินา ปาโบล ซตูปิซกิ อาร์เจนตินา รามิโร ริซาโซ บราซิล แอแมร์ซง อัลเมดา
เลกที่ 2

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์

[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ยะลา ไทย มุนตาด บิลังโหลด แยกทาง กุมภาพันธ์ 2567 ก่อนเริ่มฤดูกาล ไทย นิรุณตร์ อัศวภักดี 18 มีนาคม 2567[3]
เมืองตรัง ยูไนเต็ด ไทย นิรุณตร์ อัศวภักดี สกอตแลนด์ ริชาร์ด ฮอร์ลอก 8 พฤษภาคม 2567[4]
นรา ยูไนเต็ด ไทย ลุกมาน อูเซ็ง ไทย สันติสุข ไชยศล 9 มิถุนายน 2567[5]
ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ปริญญา จารุเหติ ไทย ชัยวัฒน์ เงาอำพันไพฑูรย์ 19 มิถุนายน 2567[6]
ปัตตานี สวิตเซอร์แลนด์ ดามีอาน เบลล็อน ไทย ภัทรพล นาประเสริฐ 7 กรกฎาคม 2567[7]
ภูเก็ต อันดามัน บราซิล ราชิญญู ไทย จารุพงศ์ สังข์พงษ์ 23 กรกฎาคม 2567[8]
ยะลา ซิตี้ ไทย มูฮำหมัดซัลฟาดี เจ๊ะเต๊ะ ปรับโครงสร้าง 27 มีนาคม 2567 ไทย นุรดิน อาสาบาโงย 27 มีนาคม 2567[9]
พัทลุง ไทย ธีรธาดา จำรัส แยกทาง เมษายน 2567 ไทย อัครัช นวลละออง 26 กรกฎาคม 2567[10]
กระบี่ ไทย อิทธิพล พิมพ์วงศ์ ไทย สระราวุฒิ ตรีพันธ์ 5 สิงหาคม 2567[11]
ภูเก็ต อันดามัน ไทย จารุพงศ์ สังข์พงษ์ ลาออก 6 ตุลาคม 2567 อันดับที่ 12 ไทย ภูวนาท แสงศรี 14 ตุลาคม 2567[12]
เมืองตรัง ยูไนเต็ด สกอตแลนด์ ริชาร์ด ฮอร์ลอก แยกทาง 9 ตุลาคม 2567[13] อันดับที่ 7 ไทย สัคคยศ สังขพันธ์
ไทย กิตติ รักราวี (รักษาการ)
9 ตุลาคม 2567
ไทย สัคคยศ สังขพันธ์
ไทย กิตติ รักราวี (รักษาการ)
สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 16 ตุลาคม 2567 อันดับที่ 3 ไทย ประจักษ์ เวียงสงค์ 16 ตุลาคม 2567
พีที สตูล ไทย อดุลย์ หมื่นสมาน ลาออก 27 ตุลาคม 2567 อันดับที่ 7 ไทย นัสรุดดีน ฮับยูโซ๊ะ (รักษาการ) 28 ตุลาคม 2567
ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ชัยวัฒน์ เงาอำพันไพฑูรย์ แยกทาง 4 พฤศจิกายน 2567 อันดับที่ 11 ไทย ปองภพ เกลื่อนสิน (รักษาการ) 4 พฤศจิกายน 2567
พัทลุง ไทย อัครัช นวลละออง 4 พฤศจิกายน 2567 อันดับที่ 6 ไทย เอกสิทธิ์ คงสมแสวง (รักษาการ) 4 พฤศจิกายน 2567

ตารางคะแนน

[แก้]

อันดับ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 สงขลา 8 5 3 0 8 3 +5 18 เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 นรา ยูไนเต็ด 8 4 4 0 9 4 +5 16
3 ปัตตานี 8 4 2 2 10 7 +3 14
4 เมืองตรัง ยูไนเต็ด 8 3 4 1 13 9 +4 13
5 ยะลา 8 3 4 1 8 5 +3 13
6 พัทลุง 8 3 2 3 8 6 +2 11
7 พีที สตูล 8 2 4 2 6 8 −2 10
8 พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ 8 1 5 2 7 8 −1 8
9 ภูเก็ต อันดามัน 8 2 2 4 7 12 −5 8
10 ยะลา ซิตี้ 8 1 3 4 4 9 −5 6
11 ระนอง ยูไนเต็ด 8 1 2 5 4 9 −5 5
12 กระบี่ 8 1 1 6 9 13 −4 4 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 3 พฤศจิกายน 2567. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียจากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้จากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียจากทุกนัด 6.จำนวนประตูได้จากทุกนัด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ 1 นัด ถ้าเสมอกันในเวลาปกติให้ดวลลูกโทษตัดสิน[14]


อันดับตามสัปดาห์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2567 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

[แก้]
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2567 อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน KBI NRU PTN PLG STN STC PKA MTG YLA YLC RNU SKA
กระบี่ 0–1 4–0 0–2 1–2
นรา ยูไนเต็ด 2–1 2–2 2–0 1–0
ปัตตานี 1–0 1–0 3–2 2–0
พัทลุง 1–0 4–1 1–2 1–1
พีที สตูล 1–0 1–1 2–0 0–0
พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ 2–2 0–0 1–2
ภูเก็ต อันดามัน 1–1 2–1 1–2 1–0
เมืองตรัง ยูไนเต็ด 4–2 0–0 1–1 0–0
ยะลา 0–0 1–1 1–2 1–0
ยะลา ซิตี้ 0–1 1–1 1–1 1–0
ระนอง ยูไนเต็ด 0–0 0–0 1–3 1–2
สงขลา 1–0 0–0 1–0 1–0 1–1
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2567. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ไทย สมปราชญ์ เรืองนุ่น เมืองตรัง ยูไนเต็ด 6
2 บราซิล จีโอกู เปเรย์รา เมืองตรัง ยูไนเต็ด 4
3 บราซิล ไคอู ดา กงไซเซา ซิลวา นรา ยูไนเต็ด 3
บราซิล เฟลีเป นูเนส ปัตตานี
บราซิล ลูกัส เกาเดนซีอู มูไรส์ พัทลุง
สาธารณรัฐคองโก บูร์เนล อ็อกานา-ซตาซี พีที สตูล
ไทย สาโรจน์ จิตรเสนาะ ภูเก็ต อันดามัน
ไทย เจะฮานาฟี มามะ ยะลา
ไทย อัครอม ม่าหมูด ยะลา
อาร์เจนตินา รามิโร ริซาโซ สงขลา

แฮตทริก

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ไทย จารุเดช หล๊ะหมูด นรา ยูไนเต็ด 5
ไทย ศรวัสย์ โพธิ์สมัน สงขลา
3 ไทย อิทธิกร การสร้าง ปัตตานี 4
ไทย วุฒิชัย ปานบุตร พีที สตูล
5 ไทย อัมรัน บูงอสายู ยะลา 3
6 ไทย พงศกร สมรรถนเรศวร์ พัทลุง 2
ไทย ธราเทพ โต๊ะมุสอ พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้
ไทย ธีรพงศ์ พุทธสุขา เมืองตรัง ยูไนเต็ด
ไทย ไซฟู มะยิ ระนอง ยูไนเต็ด
10 ไทย นรากร คนแรงดี กระบี่ 1
ไทย สุรฉัตร สุวรรณตานนท์ พัทลุง
ไทย อนาวิล รอดถนน ภูเก็ต อันดามัน
ไทย ฟิรฮัน มะแซ ยะลา
ไทย อาดือนัน บินดอเลาะ ยะลา ซิตี้

ผู้ชม

[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 ปัตตานี 11,222 3,200 2,322 2,806 −13.6%
2 พีที สตูล 9,241 3,408 1,573 2,310 −7.5%
3 นรา ยูไนเต็ด 9,000 3,000 2,000 2,250 +151.1%
4 ยะลา 7,172 2,200 1,158 1,793 +71.9%
5 พัทลุง 4,531 1,631 654 1,133 +11.7%
6 เมืองตรัง ยูไนเต็ด 4,495 1,200 975 1,124 +62.7%
7 สงขลา 3,836 1,836 325 767 +27.8%
8 พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ 1,664 800 285 555 +47.6%
9 ยะลา ซิตี้ 1,990 600 356 498 −34.9%
10 ระนอง ยูไนเต็ด 1,350 750 0 450 +75.8%
11 ภูเก็ต อันดามัน 1,629 900 198 407 +71.7%
12 กระบี่ 1,174 400 221 294 +2.1%
รวม 57,304 3,408 0 1,219 +21.1%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2567
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก 2
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

[แก้]
ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รวม
กระบี่ 253 221 400 300 1,174
นรา ยูไนเต็ด 2,000 2,000 2,000 3,000 9,000
ปัตตานี 2,950 3,200 2,750 2,322 11,222
พัทลุง 950 654 1,296 1,631 4,531
พีที สตูล 1,573 1,959 3,408 2,301 9,241
พีเอสยู สุราษฎร์ธานี ซิตี้ 285 579 800 1,664
ภูเก็ต อันดามัน 300 900 198 231 1,629
เมืองตรัง ยูไนเต็ด 1,200 1,120 1,200 975 4,495
ยะลา 2,200 1,647 1,158 2,167 7,172
ยะลา ซิตี้ 600 532 356 502 1,990
ระนอง ยูไนเต็ด Unk.1 750 300 300 1,350
สงขลา 374 1,836 672 629 325 3,836

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2567 (ระนอง ยูไนเต็ด 0–0 พีที สตูล)

อ้างอิง

[แก้]
  1. ""เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้" รีแบรนด์ใหม่ ก่อนบู๊ "ไทยลีก 3" โซนใต้". ballthai.com. 13 June 2024. สืบค้นเมื่อ 7 October 2024.
  2. ""สงขลา" โยกเตะ สนามจิระนคร แทน สนามติณฯ นัดเปิดซีซั่น". ballthai.com. 11 September 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  3. "เอฟซี ยะลา แต่งตั้ง นิรุณตร์ อัศวภักดี นั่งเฮดโค้ชคนใหม่". ballthai.com. ballthai. 18 March 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  4. ""เมืองตรัง" แต่งตั้ง "ริชาร์ด อลิฟ ฮอร์ลอค" เป็นกุนซือรายใหม่". ballthai.com. ballthai. 9 May 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  5. "นรา ยูไนเต็ด ปรับแม่ทัพล่าตั๋วไทยลีก2 ตั้ง "โค้ชบอย" สันติสุข คุมทีม". siamsport.co.th. siamsport. 10 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  6. ""ระนอง ยูไนเต็ด" เปิดตัว "โค้ชเอก" นั่งเฮดโค้ชบู๊ T3 ซีซั่นใหม่". ballthai.com. ballthai. 19 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  7. "ปัตตานี เอฟซี ตั้ง ภัทรพล นาประเสริฐ เป็นเฮดโค้ชคนใหม่". ballthai.com. ballthai. 7 July 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  8. "ภูเก็ต อันดามัน ประกาศตั้ง "โค้ชโก้-จารุพงศ์" นั่งเฮดโค้ชใหญ่". siamsport.co.th. siamsport. 23 July 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  9. "ยะลา ซิตี้ ตั้ง "โค้ชจัง" คุมทัพ เตรียมลุย T3 ซีซั่นหน้า". ballthai.com. ballthai. 28 March 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  10. ""พัทลุง เอฟซี" ประกาศตั้ง "โค้ชเอ็ม อัครัช" คุมทัพ". ballthai.com. ballthai. 26 July 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  11. "สระราวุฒิ ตรีพันธ์ จ่อควบ 2 ตำแหน่ง ประธาน-โค้ชกระบี่ เอฟซี". siamsport.co.th. siamsport. 7 August 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  12. "เดอะ ล็อบสเตอร์ แต่งตั้ง ภูวนาท แสงศรี เป็นเฮดโค้ชคนใหม่". siamsport.co.th. siamsport. 14 October 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  13. "เมืองตรังปลดกุนซือชาวอังกฤษก่อนดวลเมืองทองถ้วยรีโว่คัพปลายต.ค." siamsport.co.th. siamsport. 10 October 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  14. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2567/68" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.