ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 – โซนภาคตะวันตก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 โซนภาคตะวันตก
ฤดูกาล2567–68
วันที่14 กันยายน 2567 – 29 มีนาคม 2568
จำนวนนัด42
จำนวนประตู136 (3.24 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดธนดล ยานแก้ว
(8 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
4 ประตู
หัวหิน ซิตี้ 4–0 กาญจนบุรี ซิตี้
(14 กันยายน 2567)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
5 ประตู
กาญจนบุรี ซิตี้ 0–5 สมุทรสาคร ซิตี้
(21 กันยายน 2567)
จำนวนประตูสูงสุด8 ประตู
ทัพหลวง ยูไนเต็ด 5–3 มาราเลน่า
(19 ตุลาคม 2567)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
สมุทรสาคร ซิตี้
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
สมุทรสาคร ซิตี้
หัวหิน ซิตี้
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
กาญจนบุรี ซิตี้
ทหารบก
มาราเลน่า
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
กาญจนบุรี ซิตี้
จำนวนผู้ชมสูงสุด577 คน
ธนบุรี ยูไนเต็ด 2–1 ทัพหลวง ยูไนเต็ด
(26 ตุลาคม 2567)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม10,369 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย253 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 27 ตุลาคม 2567

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 โซนภาคตะวันตก เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 8 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

สโมสร

[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2567–68 โซนภาคตะวันตก มีจำนวน 12 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากโซนภาคตะวันตกเดิม จำนวน 6 สโมสร สโมสรที่ย้ายมาจากโซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 5 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2566–67
กาญจนบุรี ซิตี้ กาญจนบุรี เขาน้อยสเตเดียม 6
ทหารบก กรุงเทพมหานคร
(ทวีวัฒนา)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 1,000 9 (กทม.)
ทัพหลวง ยูไนเต็ด นครปฐม สนามกีฬากลาง 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน 5,000 8
ธนบุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(หนองแขม)
ธนบุรีสเตเดียม 3,500 4 (กทม.)
นนทบุรี ยูไนเต็ด นนทบุรี
(เมืองนนทบุรี)
นนทบุรีสเตเดียม 12,000 13 (กทม.)
ราชประชา 3
มาราเลน่า เพชรบุรี สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 7
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ นนทบุรี
(เมืองนนทบุรี)
สนามกีฬาศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลนครนนทบุรี 6,000 10 (กทม.)
สมุทรสงคราม ซิตี้ สมุทรสงคราม สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม 6,000 1 (ทีเอส)
สมุทรสาคร ซิตี้ สมุทรสาคร สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสมุทรสาคร 1,000 3 (กทม.)
หัวหิน ซิตี้ ประจวบคีรีขันธ์ สนามกีฬาเทศบาลเมืองหัวหิน (เขาตะเกียบ) 3,000 10
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(บางแค)
สนามกีฬาว่องประชานุกูล 9

ข้อมูลสโมสร

[แก้]
สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
กาญจนบุรี ซิตี้ ไทย ราชัณ สาระคำ ไทย รัชชานนท์ ผางแก้ว เวลสปอร์ต
ทหารบก ไทย ชัยวัฒน์ นาคเอี่ยม ไทย อนุสรณ์ พรมประสิทธิ์ กีลา
ทัพหลวง ยูไนเต็ด ไทย เรืองชัย ชูธงชัย ไอมาเน
ธนบุรี ยูไนเต็ด ไทย เพ็ชรประเสริฐ แจ้งแช่ม ไทย จัตุรงค์ หลงศรีภูมิ อีโกสปอร์ต
นนทบุรี ยูไนเต็ด ไทย อชิระ ทองเจิม ไทย ราชันย์ กันจินะ มาตาสปอร์ต
มาราเลน่า โกตดิวัวร์ อาบดูล กูลีบาลี ไทย อมรวิชญ์ บุญอาภา
ราชประชา ไทย พัฒฐณพงศ์ ศรีปราโมช เซอร์เบีย มาร์กอ มีเลนโควิช วอริกซ์
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ ไทย ปริญญา จารุเหติ ไทย นาธาน รองเดช ณัฐสปอร์ต
สมุทรสงคราม ซิตี้ ไทย รุ่งโรจน์ ทองถิ่นภู ไทย วรวิช วันวอน เอชทรีสปอร์ต
สมุทรสาคร ซิตี้ ไทย ใหญ่ นิลวงษ์ ไทย รัชพล นาวันโน ว้าวสปอร์ต
หัวหิน ซิตี้ ไทย จิระเดช แสงสง่า ไทย พรณรงค์ รอดจากทุกข์ ว้าวสปอร์ต
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด ไทย ธร สอระภูมิ ไทย วงศ์ปกรณ์ เจริญทวีสุข เอฟบีที

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
กาญจนบุรี ซิตี้ เลกที่ 1 กานา คาสเซิล เอ็นทีห์-เมนซาห์ เกาหลีใต้ คิม ก็อน-อู เกาหลีใต้ คิม มิน-แจ
เลกที่ 2
ทหารบก เลกที่ 1
เลกที่ 2
ทัพหลวง ยูไนเต็ด เลกที่ 1 ไนจีเรีย เอ็นดูกา ราเลา อูเช ไนจีเรีย เอ็นจีกา วาเลนไทน์ ลาว พุดทะไซ โคจะเลิน
เลกที่ 2
ธนบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1 โกตดิวัวร์ บูดา อ็องรี อีซมาแอล ไนจีเรีย อาจายี โอเปเยมี โคเรเด อินเดีย เมจิเอวิ ขิเอยะ
เลกที่ 2
นนทบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1 โปรตุเกส อาอีร์ตง คา เกาหลีใต้ แพ็ก ดง-จู เกาหลีใต้ อี แจ-ยง
เลกที่ 2
มาราเลน่า เลกที่ 1 แคเมอรูน อีแซก แอมเบนกาน โกตดิวัวร์ อาบเดล ราซัก ดียอม็องเด เซเนกัล ตาล มูอามาดู ฟาลลู แอมบักเก
เลกที่ 2
ราชประชา เลกที่ 1 บราซิล ฌูนาตัน อังดราดี เซอร์เบีย มาร์กอ มีเลนโควิช สเปน เซร์ฆิ บัยส์
เลกที่ 2
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ เลกที่ 1 กานา ลอร์ด อาร์โก กินี บารี เลลูมา
เลกที่ 2
สมุทรสงคราม ซิตี้ เลกที่ 1 อาร์เจนตินา ลูกัส ดานิเอล ไนจีเรีย เอ็ดมันด์ ซันเดย์ อิหร่าน อะมีรโมแฮมแมด กะรัมดะร์
เลกที่ 2
สมุทรสาคร ซิตี้ เลกที่ 1 บราซิล ฟีลีเป วาสกงเซลุส บราซิล ยูรี มาร์ชิงส์ กานา อับดุล คาริม อาเยห์
เลกที่ 2
หัวหิน ซิตี้ เลกที่ 1 บราซิล เบรนู โซซา จีอัส บราซิล วีนีซียุส ซิลวา ไฟรตัช แทนซาเนีย จอห์น เอมอส มูโอนูออส
เลกที่ 2
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด เลกที่ 1 เนเธอร์แลนด์ เอมีเลอ ลินเกอร์ส ไนจีเรีย ริลิวาน โอเคดารา เกาหลีใต้ คิม อู-กยอม
เลกที่ 2

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์

[แก้]
  • ทัพหลวง ยูไนเต็ด ย้ายไปใช้สนามกีฬากลาง 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน แทนสนามกีฬาเทศบาลตำบลปากท่อ
  • หัวหิน มาราเลน่า เปลี่ยนชื่อเป็นมาราเลน่า และย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี แทนสนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
  • นนทบุรี ยูไนเต็ด มีการเปลี่ยนโลโก้ใหม่[1]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
มาราเลน่า เบลเยียม เรอเน เดอซาแยร์ แยกทาง กุมภาพันธ์ 2567 ก่อนเริ่มฤดูกาล โกตดิวัวร์ อาบดูล กูลีบาลี มิถุนายน 2567
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ ไทย วิชาญชัย หาทรัพย์ ไทย ปริญญา จารุเหติ 16 มิถุนายน 2567[2]
นนทบุรี ยูไนเต็ด ไทย ยศกร ศิลาเกษ ไทย อชิระ ทองเจิม 27 มิถุนายน 2567[3]
ทัพหลวง ยูไนเต็ด ไทย ยุทธนา เหลืองเจริญ ไทย นิธิกร ศรีประเสริฐ 19 กรกฎาคม 2567[4]
กาญจนบุรี ซิตี้ ไทย พยงค์ ขุนเณร ไทย ราชัณ สาระคำ 5 กันยายน 2567
ทัพหลวง ยูไนเต็ด ไทย นิธิกร ศรีประเสริฐ ลาออก 21 ตุลาคม 2567 อันดับที่ 3

ตารางคะแนน

[แก้]

อันดับ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 สมุทรสาคร ซิตี้ 7 6 1 0 21 7 +14 19 เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 หัวหิน ซิตี้ 7 4 3 0 19 10 +9 15
3 นนทบุรี ยูไนเต็ด 7 4 2 1 16 10 +6 14
4 ธนบุรี ยูไนเต็ด 7 4 2 1 13 8 +5 14
5 ทัพหลวง ยูไนเต็ด 7 3 3 1 13 8 +5 12
6 ราชประชา 7 3 1 3 8 8 0 10
7 อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด 7 3 0 4 11 16 −5 9
8 วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 7 1 3 3 6 7 −1 6
9 สมุทรสงคราม ซิตี้ 7 1 2 4 11 16 −5 5
10 ทหารบก 7 0 4 3 7 13 −6 4
11 มาราเลน่า 7 0 3 4 7 16 −9 3
12 กาญจนบุรี ซิตี้ 7 0 2 5 4 17 −13 2 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 27 ตุลาคม 2567. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียจากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้จากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียจากทุกนัด 6.จำนวนประตูได้จากทุกนัด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ 1 นัด ถ้าเสมอกันในเวลาปกติให้ดวลลูกโทษตัดสิน[5]


อันดับตามสัปดาห์

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2567 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

[แก้]
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2567 อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า / เยือน KRC RTA TLU TBU NON MLN RAJ VMN SSC SKC HHC ASU
กาญจนบุรี ซิตี้ 0–2 1–2 0–5
ทหารบก 2–2 0–2 3–3
ทัพหลวง ยูไนเต็ด 5–3 3–1 2–2
ธนบุรี ยูไนเต็ด 2–1 4–1 1–1
นนทบุรี ยูไนเต็ด 3–2 0–0 2–2 4–1
มาราเลน่า 0–0 0–0 1–3 2–2
ราชประชา 0–0 1–2 2–1
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 0–0 2–0 0–1 0–1
สมุทรสงคราม ซิตี้ 0–0 3–3 1–3
สมุทรสาคร ซิตี้ 3–0 3–2 2–0 3–2
หัวหิน ซิตี้ 4–0 3–0 1–0 4–3
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด 2–1 1–4 3–2 1–2
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 27 ตุลาคม 2567. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ไทย ธนดล ยานแก้ว นนทบุรี ยูไนเต็ด 8
2 บราซิล ยูรี มาร์ชิงส์ สมุทรสาคร ซิตี้ 6
3 กานา อับดุล คาริม อาเยห์ สมุทรสาคร ซิตี้ 5
บราซิล วีนีซียุส ซิลวา ไฟรตัช หัวหิน ซิตี้
5 ไทย ภูวเนตร ทองคุ่ย ทัพหลวง ยูไนเต็ด 4
ไนจีเรีย เอ็ดมันด์ ซันเดย์ สมุทรสงคราม ซิตี้
บราซิล ฟีลีเป วาสกงเซลุส สมุทรสาคร ซิตี้
บราซิล เบรนู โซซา จีอัส หัวหิน ซิตี้
9 ไทย ปิยะพงษ์ พฤกษสุภี ธนบุรี ยูไนเต็ด 3
ไทย ธนาทรัพย์ ศรีโกตะเพชร ธนบุรี ยูไนเต็ด
ไทย ธนวินท์ ตัณฑะเตมีย์ สมุทรสงคราม ซิตี้
ไทย สุทิน เอี่ยมสะอาด หัวหิน ซิตี้
ไทย ภูธเรศ จันทะโสม หัวหิน ซิตี้
เนเธอร์แลนด์ เอมีเลอ ลินเกอร์ส อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด

แฮตทริก

[แก้]
ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
ไทย ธนดล ยานแก้ว นนทบุรี ยูไนเต็ด อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด 4–1 (H) 22 กันยายน 2567
ไทย ธนดล ยานแก้ว นนทบุรี ยูไนเต็ด ทหารบก 3–2 (H) 27 ตุลาคม 2567

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ไทย สุทธิภัทร น้อยคำสิน ทัพหลวง ยูไนเต็ด 3
ไทย รัตนชาติ เนียมไธสง ราชประชา
3 ไทย ณัฐวุฒิ ท้าวเงิน ทหารบก 2
ไทย สุรไกร หะพลรัมย์ วีอาร์เอ็น เมืองนนท์
ไทย นพรัตน์ สีนาเรียง สมุทรสาคร ซิตี้
ไทย อับดุลฟารุส สะมะแอ หัวหิน ซิตี้
7 เกาหลีใต้ คิม มิน-แจ กาญจนบุรี ซิตี้ 1
ไทย ภัทรพงษ์ เพ็ชรจรูญ ธนบุรี ยูไนเต็ด
ไทย ธนภัทร นิรันดร นนทบุรี ยูไนเต็ด
ไทย ธนวิช อ่วมสอาด มาราเลน่า
ไทย พีรนัย สร้อยสงฆ์ มาราเลน่า
อาร์เจนตินา ลูกัส ดานิเอล สมุทรสงคราม ซิตี้
ไทย อนุศิษฏ์ เติมมี สมุทรสาคร ซิตี้
ไทย วัชรพล จูฑะพุทธิ หัวหิน ซิตี้
ไทย พัชรพล แก้วคำ อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด

ผู้ชม

[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 ธนบุรี ยูไนเต็ด 1,392 577 340 464 +71.2%
2 ทัพหลวง ยูไนเต็ด 1,065 515 200 355 +33.0%
3 นนทบุรี ยูไนเต็ด 1,284 522 167 321 +118.4%
4 อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด 1,260 575 175 315 +61.5%
5 สมุทรสาคร ซิตี้ 930 340 0 310 +9.9%
6 สมุทรสงคราม ซิตี้ 693 291 122 231 −42.2%
7 วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 858 288 180 215 +36.9%
8 หัวหิน ซิตี้ 783 350 106 196 +6.5%
9 ราชประชา 572 210 176 191 +32.6%
10 กาญจนบุรี ซิตี้ 496 185 135 165 +16.2%
11 ทหารบก 464 194 124 155 −9.9%
12 มาราเลน่า 572 237 85 143 −13.3%
รวม 10,369 577 0 253 −2.7%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2567
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

[แก้]
ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รวม
กาญจนบุรี ซิตี้ 176 185 135 496
ทหารบก 194 146 124 464
ทัพหลวง ยูไนเต็ด 200 515 350 1,065
ธนบุรี ยูไนเต็ด 340 475 577 1,392
นนทบุรี ยูไนเต็ด 170 522 425 167 1,284
มาราเลน่า 150 100 85 237 572
ราชประชา 186 176 210 572
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 288 180 210 180 858
สมุทรสงคราม ซิตี้ 280 122 291 693
สมุทรสาคร ซิตี้ 270 Unk.1 340 320 930
หัวหิน ซิตี้ 200 127 106 350 783
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด 175 180 330 575 1,260

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2567 (สมุทรสาคร ซิตี้ 3–0 ทหารบก)

อ้างอิง

[แก้]
  1. ""เดอะ บิ๊กแบร์" เปลี่ยนฉายาใหม่เป็น "อีกาทอง" เป็นที่เรียบร้อย". ballthai.com. 17 April 2024. สืบค้นเมื่อ 7 October 2024.
  2. ""วีอาร์เอ็น เมืองนนท์" เปิดตัว "โค้ชบอย" ปริญญา คุมทัพ". ballthai.com. ballthai. 17 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  3. ""อีกาทอง" เปิดตัว "โค้ชริว" คุมทัพลุย "T3" ซีซั่น 2024/25". ballthai.com. ballthai. 27 June 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  4. ""ทัพหลวง" ประกาศตั้ง "โค้ชปอ" คุมทัพ พร้อมเสริมกองหน้าไนจีเรีย". ballthai.com. ballthai. 21 July 2024. สืบค้นเมื่อ 15 October 2024.
  5. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2567/68" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.