เอียวฮอง (หยาง หง)
หน้าตา
เอียวฮอง (หยาง หง) | |
---|---|
楊洪 | |
เจ้าหน้าที่ปกครอง (功曹 กงเฉา) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 214 – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | เล่าปี่ |
เจ้าเมืองจ๊ก (蜀郡太守 สู่จฺวิ้นไท่โฉฺ่ว) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 219 – ค.ศ. 228 | |
กษัตริย์ | เล่าปี่ / เล่าเสี้ยน |
ก่อนหน้า | หวดเจ้ง |
ขุนพลซื่อสัตย์ภักดี (忠節將軍 จงเจี๋ยเจียงจฺวิน) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 223 – ค.ศ. ? | |
กษัตริย์ | เล่าเสี้ยน |
นายกองทหารม้าเร็ว (越騎校尉 เยฺว่ฉีเซี่ยวเว่ย์) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. 228 | |
กษัตริย์ | เล่าเสี้ยน |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ เขตเผิงชาน มณฑลเสฉวน |
เสียชีวิต | ค.ศ. 228[a] |
อาชีพ | ขุนนาง |
ชื่อรอง | จี้ซิว (季休) |
บรรดาศักดิ์ | กวานเน่ย์โหฺว (關內侯) |
เอียวฮอง[2] (เสียชีวิต ค.ศ. 228)[a] มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า หยาง หง (จีน: 楊洪; พินอิน: Yáng Hóng) ชื่อรอง จี้ซิว (จีน: 季休; พินอิน: Jìxiū) เป็นขุนนางของรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊กของจีน
ประวัติช่วงต้น
[แก้]เอียวฮองเป็นชาวอำเภออู่หยาง (武陽) เมืองเฉียนเว่ย์ (犍為) ซึ่งตั้งอยู่ในเขตเผิงชาน มณฑลเสฉวนในปัจจุบัน เมื่อเล่าเจี้ยงเป็นเจ้ามณฑลของมณฑลเอ๊กจิ๋ว เอียวฮองได้รับราชการในหลายเมืองต่อเนื่องกัน หลังเล่าปี่เข้ายึดครองมณฑลเอ๊กจิ๋วได้ ลิเงียมเสนอชื่อให้เอียวฮองเป็นเจ้าหน้าที่ปกครอง (功曹 กงเฉา) ภายหลังลิเงียมต้องการย้ายที่ว่าการเมืองเฉียนเว่ย์ แต่เอียวฮองคัดค้านอย่างหนักแน่น และท้ายที่สุดความเห็นของเอียวฮองก็ถูกเพิกเฉย ต่อมาเอียวฮองลาออกจากตำแหน่งเจ้าหน้าที่ปกครอง แต่ลิเงียมยังคงเสนอชื่อให้เอียวฮองมารับตำแหน่งเป็นขุนนางในนครหลวงของมณฑล[3]
รับราชการกับเล่าปี่
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รับราชการกับเล่าเสี้ยน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
คำวิจารณ์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 ชีวประวัติเอียวฮองในจดหมายเหตุสามก๊กระบุว่าเอียวฮองเสียชีวิตในศักราชเจี้ยนซิง (ค.ศ. 223-237) ปีที่ 6 ในรัชสมัยของเล่าเสี้ยน[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ (... 六年卒官。) จตหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 41.
- ↑ ("เจาจิ๋วก็ห้ามปรามเปนหลายครั้ง ขงเบ้งก็มิได้ฟัง จึงสั่งให้ กุยฮิวจี๋ บิฮุย ตันอุ๋น เฮียงทง ตันจีน เจียวอ้วน เตียวฮี เตาเขง โตบี เอียวฮอง เบงก๋อง ไลบิน อินเบด ลิจวน ฮุยสี เจาจิ๋ว กับขุนนางผู้ใหญ่ร้อยเศษ คุมทหารอยู่รักษาเมืองเสฉวน") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๐". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 14, 2023.
- ↑ (楊洪字季休,犍為武陽人也。劉璋時歷部諸郡。先主定蜀,太守李嚴命為功曹。嚴欲徙郡治舍,洪固諫不聽,遂辭功曹,請退。嚴欲薦洪於州,為蜀部從事。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 41.
บรรณานุกรม
[แก้]- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อ).
- เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซานกั๋วจื้อจู้).